Page 18 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดจันทบุรี
P. 18

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               11








                         2.2    มังคุด
                             มังคุดเป็นพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดจันทบุรีในล าดับที่ 2 จากฐานข้อมูลในแผนที่เกษตร
                       เชิงรุก หรือ Agri-Map Online วิเคราะห์ข้อมูลได้ดังนี้ (ตารางที่ 5 และภาพที่ 8 - 9)

                             1) การวิเคราะห์ศักยภาพของพื้นที่ปลูกมังคุด
                               ระดับที่ 1 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 431,053 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 19.26

                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากในอ าเภอท่าใหม่ 153,988 ไร่ อ าเภอเขาคิชฌกูฏ 139,565 ไร่
                       และอ าเภอโป่งน้ าร้อน 41,474 ไร่
                               ระดับที่ 2 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 701,732  ไร่ คิดเป็นร้อยละ
                       31.35 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากในอ าเภอโป่งน้ าร้อน 258,616 ไร่ อ าเภอสอยดาว
                       188,895 ไร่ และอ าเภอนายายอาม 89,577 ไร่
                               ระดับที่ 3 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 531,322 ไร่ คิดเป็นร้อยละ

                       23.74 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากในอ าเภอขลุง 166,751 ไร่ อ าเภอมะขาม 138,241 ไร่ และ
                       อ าเภอสอยดาว 82,984 ไร่
                               ระดับที่ 4 เป็นพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 574,075 ไร่

                             2) การวิเคราะห์พื้นที่ปลูกมังคุดในปัจจุบัน ซึ่งจ าแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน
                       ได้ดังนี้
                               (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 126,848 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 29.43 ของพื้นที่ศักยภาพสูง

                       พบมากในอ าเภอท่าใหม่ 55,477 ไร่ อ าเภอเขาคิชฌกูฏ 52,663 ไร่ และอ าเภอมะขาม 8,090 ไร่
                               (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 46,519  ไร่ คิดเป็นร้อยละ 6.63 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง พบมากในอ าเภอท่าใหม่ 18,405 ไร่ อ าเภอนายายอาม 10,821 ไร่ และอ าเภอมะขาม

                       6,762 ไร่
                               (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 159,776 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 30.07 ของพื้นที่ศักยภาพ
                       เล็กน้อย พบมากในอ าเภอขลุง 65,247 ไร่ อ าเภอมะขาม 57,487 ไร่ และอ าเภอเมืองจันทบุรี 27,354 ไร่
                               (4) พื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 22,892  ไร่

                             3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกมังคุดแต่ไม่ใช้พื้นที่ปลูก

                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินส าหรับการปลูกมังคุด และพื้นที่ปลูกมังคุดในชั้นความเหมาะสมต่าง ๆ
                       (ปลูกจริง) พบว่าจังหวัดจันทบุรีมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง (S1)
                       และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 959,418 ไร่ โดยกระจายอยู่ทั่วทุกอ าเภอ โดยอ าเภอ
                       ที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุดคือ อ าเภอโป่งน้ าร้อน 295,229 ไร่ รองลงมา ได้แก่ อ าเภอ

                       สอยดาว 219,752 ไร่ อ าเภอท่าใหม่ 169,512 ไร่ อ าเภอเขาคิชฌกูฏ 104,685 ไร่ ตามล าดับ
                       โดยมีรายละเอียดดังนี้
                               (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 304,205 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 70.57 ของพื้นที่

                       ศักยภาพสูง พบมากในอ าเภอท่าใหม่ 98,511 ไร่ อ าเภอเขาคิชฌกูฏ 86,902 ไร่ อ าเภอโป่งน้ าร้อน
                       39,924 ไร่ อ าเภอนายายอาม 30,992ไร่ และอ าเภอสอยดาว 30,975 ไร่
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23