Page 17 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดจันทบุรี
P. 17
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
10
ตารางที่ 4 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตยางพารา
มังคุด (ไร่) มันส าปะหลัง (ไร่)
อ าเภอ
S3 N รวม S3 N รวม
ขลุง 47,593 - 47,593 69 - 69
มะขาม 41,634 - 41,634 1 - 1
สอยดาว - - - 23,322 - 23,322
ท่าใหม่ 1,554 - 1,554 1,002 - 1,002
นายายอาม - - - 450 - 450
แหลมสิงห์ 4,766 - 4,766 - - -
เขาคิชฌกูฏ - - - 1,473 - 1,473
แก่งหางแมว - - - 52 - 52
โป่งน้ าร้อน 1,487 - 1,487 4,823 - 4,823
เมืองจันทบุรี 24,114 - 24,114 18 - 18
รวม 121,148 - 121,148 31,210 - 31,210
4) แนวทางการจัดการ
(1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรส่งเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให้เกษตรกรปลูก
ยางพาราต่อไปเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตและได้ผลผลิตที่มีคุณภาพดี
ซึ่งการปลูกยางพาราในพื้นที่ดังกล่าวข้างต้นสามารถน าไปสู่การต่อยอดโครงการที่ส าคัญต่าง ๆ ได้ เช่น
ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ เกษตรแม่นย า เป็นต้น
พื้นที่ปลูกยางพาราในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ที่ดินไม่มีข้อจ ากัดทาง
กายภาพต่อการปลูกยางพารา ซึ่งควรสงวนไว้เป็นแหล่งปลูกยางพารา กระจายอยู่ในอ าเภอเขาคิชฌกูฏ
อ าเภอท่าใหม่ และอ าเภอนายายอาม เป็นต้น
พื้นที่ปลูกยางพาราในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูกยางพาราใน
ที่ดินที่มีข้อจ ากัดทางกายภาพบางประการต่อการปลูกยางพารา เช่น ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ความเป็น
กรดเป็นด่าง และแหล่งน้ า กระจายอยู่ในอ าเภอท่าใหม่ อ าเภอสอยดาว อ าเภอนายายอาม เป็นต้น
(2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให้เข้า
โครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม การท าเกษตรผสมผสานหรือพืชที่ให้ผลตอบแทนสูงกว่า
โดยพิจารณาแหล่งรับซื้อร่วมด้วย