Page 21 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดจันทบุรี
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               14








                       ตารางที่ 5  (ต่อ)

                                                                      เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
                          อ าเภอ        ประเภทพื้นที่
                                                           S1         S2        S3         N        รวม
                                                                                6,088    78,035     84,123
                                  พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน       -        -
                                                                             (100.00%)  (100.00%)   (100.00%)
                                  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ                     5,014     2,381      7,395
                        แหลมสิงห์   เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง)    -        -    (82.36%)   (3.05%)    (8.79%)



                                  พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ       -        -         -         -           -


                                                          431,053   701,732   531,322   574,075   2,238,182
                                  พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                        (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)   (100.00%)

                         รวมทั้ง  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ  126,848   46,519   159,776   22,892   356,035
                         จังหวัด  เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง)   (29.43%)   (6.63%)   (30.07%)   (3.99%)   (15.91%)

                                                          304,205   655,213                        959,418
                                  พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                          -         -
                                                         (70.57%)   (93.37%)                      (42.87%)

                               ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
                       ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูก
                       พืชตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ าก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว

                               เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ที่ควร
                       พิจารณาให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกมังคุด คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกยางพารา (S3) 41,119 ไร่
                       และข้าว (S3+N) 8,958 ไร่ (ตารางที่ 6)
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26