Page 16 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดจันทบุรี
P. 16
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
9
ตารางที่ 3 (ต่อ)
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
อ าเภอ ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
43 5,736 325 78,018 84,122
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 21 17 240 278
แหลมสิงห์ -
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (0.37%) (5.23%) (0.31%) (0.33%)
43 5,715 5,758
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(100.00%) (99.63%) (6.84%)
272,194 844,525 572,679 548,457 2,237,855
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
รวมทั้ง พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 50,784 223,496 106,700 32,231 413,211
จังหวัด เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (18.66%) (26.46%) (18.63%) (5.88%) (18.46%)
221,410 621,029 842,439
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(81.34%) (73.54%) (37.64%)
ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับความ
เหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืชตรงตาม
ศักยภาพของดิน การลงทุนต่ าก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ที่ควร
พิจารณาให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกยางพารา คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกมังคุด (S3) 121,148 ไร่ และ
พื้นที่ปลูกมันส าปะหลัง (S3) 31,210 ไร่ (ตารางที่ 4)