Page 13 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดจันทบุรี
P. 13

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                6








                         2.1   ยางพารา
                               ยางพาราเป็นพืชเศรษฐกิจที่สร้างรายได้ให้กับจังหวัดจันทบุรีมาเป็นเวลานาน จากฐานข้อมูล
                       ในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online วิเคราะห์ข้อมูลได้ดังนี้ (ตารางที่ 3 และภาพที่ 6 - 7)

                             1) การวิเคราะห์ศักยภาพของพื้นที่ปลูกยางพารา

                               ระดับที่ 1 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 272,194 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 12.16
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากในอ าเภอเขาคิชฌกูฏ 90,418 ไร่ อ าเภอท่าใหม่ 85,642 ไร่ และ
                       อ าเภอสอยดาว 31,318 ไร่
                               ระดับที่ 2 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 844,525 ไร่ คิดเป็นร้อยละ

                       37.75 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากในอ าเภอสอยดาว 170,100 ไร่ อ าเภอท่าใหม่ 133,761 ไร่
                       และอ าเภอโป่งน้ าร้อน 125,214 ไร่
                               ระดับที่ 3 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 572,679 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
                       24.94 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากในอ าเภอโป่งน้ าร้อน 213,571 ไร่ อ าเภอสอยดาว

                       101,412 ไร่ และอ าเภอขลุง 56,846 ไร่
                               ระดับที่ 4 เป็นพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 548,457 ไร่

                             2) การวิเคราะห์พื้นที่ปลูกยางพาราในปัจจุบัน ซึ่งจ าแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน
                       ได้ดังนี้
                               (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 50,784 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 18.66 ของพื้นที่ศักยภาพสูง

                       พบมากในอ าเภอเขาคิชฌกูฏ 19,728 ไร่ อ าเภอท่าใหม่ 19,461 ไร่ และอ าเภอนายายอาม 6,546 ไร่
                               (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 223,496 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 26.46 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง พบมากในอ าเภอท่าใหม่ 43,595 ไร่ อ าเภอสอยดาว 42,709 ไร่ และอ าเภอ
                       นายายอาม 35,199 ไร่

                               (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 106,700 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 18.63 ของพื้นที่
                       ศักยภาพเล็กน้อย พบมากในอ าเภอโป่งน้ าร้อน 17,749 ไร่ อ าเภอนายายอาม 12,169 ไร่ และอ าเภอ
                       ท่าใหม่ 12,136 ไร่

                               (4)  พื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 32,231 ไร่
                             3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกยางพาราแต่ไม่ใช้พื้นที่ปลูก

                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินส าหรับการปลูกยางพารา และพื้นที่ปลูกยางพาราในชั้นความ
                       เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) พบว่าจังหวัดจันทบุรีมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง
                       (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 842,439 ไร่ โดยอ าเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือ

                       มากที่สุดคือ อ าเภอท่าใหม่ 156,347 ไร่ รองลงมา ได้แก่ อ าเภอสอยดาว 155,199 ไร่ อ าเภอโป่งน้ าร้อน
                       130,378 ไร่ อ าเภอเขาคิชฌกูฏ 120,366 ไร่ ตามล าดับ โดยมีรายละเอียดดังนี้
                               (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 221,410 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 81.34
                       ของพื้นที่ศักยภาพสูง พบมากในอ าเภอเขาคิชฌกูฏ 70,690 ไร่ อ าเภอท่าใหม่ 66,181 ไร่ และอ าเภอ

                       สอยดาว 27,808 ไร่
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18