Page 23 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดชลบุรี
P. 23

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               16








                       ตารางที่ 6  พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตมันส าปะหลัง

                                         ปาล์มน  ามัน (ไร่)     อ้อยโรงงาน (ไร่)          ข้าว (ไร่)
                           อ าเภอ
                                      S3      N      รวม      S3      N      รวม     S3      N      รวม
                       เกาะจันทร์      -      2,603  2,603     979    -       979    1,039    247  1,286

                       บ่อทอง          -     23,495  23,495   2,605   -      2,605   1,582    137  1,719
                       บางละมุง        -      4,499  4,499     114    -       114     165    1,568  1,733

                       บ้านบึง         -     13,455  13,455  22,797   -     22,797    658    3,368  4,026
                       พนัสนิคม        -       811     811   1,152    -      1,152   1,922    627  2,549

                       พานทอง          -       174     174     620    -       620    1,325    100  1,425
                       เมืองชลบุรี     -       110     110     958    -       958     169     172     341

                       ศรีราชา         -       595     595     566    -       566       2     201     203
                       สัตหีบ          -       205     205      17    -        17      88      12     100

                       หนองใหญ่        -     28,686  28,686    442    -       442     463      25     488

                           รวม         -     74,633  74,633  30,250   -     30,250  7,413  6,457  13,870

                             4) แนวทางการจัดการ
                               (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรส่งเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให้เกษตรกร

                       ปลูกมันส าปะหลังต่อไปเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตและได้ผลผลิตที่มี

                       คุณภาพดี ซึ่งการปลูกมันส าปะหลังในพื้นที่ดังกล่าวข้างต้นสามารถน าไปสู่การต่อยอดโครงการที่ส าคัญ
                       ต่าง ๆ ได้ เช่น เกษตรอินทรีย์ ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ เกษตรแม่นย า เป็นต้น

                                 พื้นที่ปลูกมันส าปะหลังในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือ พื้นที่ปลูก
                       มันส าปะหลังในที่ดินที่ไม่มีข้อจ ากัดทางกายภาพต่อการปลูกมันส าปะหลัง ซึ่งควรสงวนไว้เป็นแหล่ง

                       ปลูกมันส าปะหลังที่ส าคัญของจังหวัด โดยกระจายอยู่ในอ าเภอบางละมุง อ าเภอศรีราชา อ าเภอ

                       บ้านบึง เป็นต้น
                                 พื้นที่ปลูกมันส าปะหลังในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือ พื้นที่ปลูก

                       มันส าปะหลังในที่ดินที่มีข้อจ ากัดทางกายภาพบางประการต่อการปลูกมันส าปะหลัง เช่น ความอุดม

                       สมบูรณ์ของดิน ความเป็นกรดเป็นด่าง ความชื้น โดยกระจายอยู่ในอ าเภอบางละมุง อ าเภอศรีราชา
                       อ าเภอพนัสนิคม เป็นต้น

                               (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให้
                       เข้าโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เช่น เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกว่าการปลูกมันส าปะหลัง

                       มีต้นทุนที่ต่ า ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เป็นต้น แต่ทั้งนี้ต้องพิจารณาแหล่งรับซื้อร่วมด้วย
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28