Page 22 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสุพรรณบุรี
P. 22
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
15
ตารางที่ 5 (ต่อ)
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
อำเภอ ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
หนอง 3,088 18,598 130,504 116,318 268,508
หญ้าไซ พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 2,418 15,841 110,869 129,128
-
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (78.30%) (85.18%) (84.95%) (48.09%)
670 2,757 3,427
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(21.70%) (14.82%) (1.28%)
473 51,610 149,027 201,110
ดอนเจดีย์ พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน -
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 473 37,948 38,421
- -
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (100.00%) (73.53%) (19.10%)
-
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - - - -
รวมทั้ง 313,906 129,165 617,628 1,862,047 2,922,746
จังหวัด พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 184,747 87,196 441,091 4,549 717,583
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (58.85%) (67.51%) (71.42%) (0.24%) (24.55%)
129,159 41,969 171,128
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(41.15%) (32.49%) (5.86%)
ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืชตรง
ตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ำก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลพื้นที่ศักยภาพร่วมกับพื้นที่ปลูกจริงในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ที่ควร
พิจารณาให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกอ้อยโรงงาน คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกข้าว (S3+N) 25,170 ไร่ และ
พื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมัน (N) 1,227 ไร่ (ตารางที่ 6)