Page 18 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสมุทรสาคร
P. 18
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
11
ตารางที่ 7 (ต่อ)
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
อำเภอ ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
55,975 25,414 81,389
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน - -
(100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 64 64
กระทุ่มแบน - - -
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (0.11%) (0.08%)
55,911 55,911
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - - -
(99.89%) (68.70%)
282,923 258,727 541,650
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน - -
(100.00%) (100.00%) (100.00%)
รวมทั้ง พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 3,214 3,214
จังหวัด เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (1.14%) - - - (0.59%)
279,709 279,709
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - - -
(98.86%) (51.64%)
ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืช
ตรงตามศักยภาพของดิน ลงทุนต่ำก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่าพื้นที่ที่ควร
ส่งเสริมให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกลำไย คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมัน (N) จำนวน 8 ไร่
โดยอำเภอที่มีศักยภาพในการขยายการผลิตลำไย ได้แก่ อำเภอบ้านแพ้ว (ตารางที่ 8)
ตารางที่ 8 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตลำไย
ปาล์มน้ำมัน (ไร่)
อำเภอ
S3 N รวม
บ้านแพ้ว - 8 8
รวม - 8 8
4) แนวทางการจัดการ
(1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรส่งเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให้เกษตรกร
ปลูกลำไยต่อไปเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตและได้ผลผลิตที่มี
คุณภาพดี ซึ่งการปลูกลำไยในพื้นที่ดังกล่าวข้างต้นสามารถนำไปสู่การต่อยอดโครงการที่สำคัญต่าง ๆ ได้
เช่น เกษตรอินทรีย์ ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ เกษตรแม่นยำ เป็นต้น