Page 15 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสมุทรปราการ
P. 15
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
9
ตารางที่ 4 (ต่อ)
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
อ าเภอ ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
7,557 28,429 35,986
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน - -
(100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 223 223
พระประแดง - - -
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (2.95%) (0.62%)
7,334 28,429 35,763
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(97.05%) (100.00%) (99.38%)
10,365 578,838 589,203
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน - -
(100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 302 302
รวมทั้งจังหวัด - -
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (2.91%) (0.05%)
10,063 10,063
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(97.09%) (1.71%)
ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้นเนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืช
ตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ าก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ปลูก
มะพร้าวที่สามารถเปลี่ยนเป็นข้าว ได้ 14 ไร่ แต่เนื่องจากนโยบายของคณะกรรมการนโยบายบริหาร
จัดการข้าวต้องการรักษาดุลยภาพผลผลิตข้าว ดังนั้น จึงควรพิจารณาปลูกพืชเศรษฐกิจชนิดอื่น
ที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด (ภาพที่ 7 - 8)
4) แนวทางการจัดการ
(1) เกษตรกรยังคงปลูกมะพร้าวได้ผลดี การพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต ในรูปแบบ
แปลงใหญ่ สนับสนุนการปรับปรุงบ ารุงดิน เพื่อพัฒนาศักยภาพของที่ดินให้มีความเหมาะสมต่อการ
ปลูกมะพร้าวมากยิ่งขึ้น สนับสนุนมะพร้าวพันธุ์ดีที่ทนต่อโรคแมลง ให้ความรู้ในการก าจัดโรคแมลง
ศัตรูมะพร้าวที่เหมาะสม สนับสนุนการจัดตั้งแหล่งรับซื้อผลผลิตมะพร้าวในพื้นที่ และเชื่อมโยง
การตลาด โดยมีตลาดรับซื้อผลผลิตมะพร้าวส ารอง ที่สามารถรองรับผลผลิตทางการเกษตรในช่วงที่
ผลผลิตล้นตลาด หรือเกินก าลังผลิตของโรงงานแปรรูปในพื้นที่ใกล้เคียง พัฒนาสถาบันเกษตรกรให้
เข้มแข็ง และเป็น Smart Farmer โดยน าเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาเป็นฟาร์ม
หรือแปลงเกษตรอัจฉริยะ
(2) พื้นที่ปลูกมะพร้าวที่ไม่มีความเหมาะสม (N) ซึ่งประสบปัญหาซ้ าซากน้ าท่วม ขาดน้ า
ผลผลิตต่ า กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ให้ความรู้เกษตรกรในการปรับเปลี่ยนชนิดพืชให้เหมาะสมตรง
ตามศักยภาพของพื้นที่ โดยสนับสนุนให้เข้าร่วมโครงการต่าง ๆ เช่น Zoning by Agri-Map เป็นต้น