Page 12 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสมุทรปราการ
P. 12
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
6
ตารางที่ 3 (ต่อ)
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
อ าเภอ ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
35,986 35,986
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน - - -
(100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ
พระประแดง - - - - -
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง)
35,986 35,986
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - - -
(100.00%) (100.00%)
32,202 1,221 312 553,338 587,073
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 18,126 18,126
รวมทั้งจังหวัด - - -
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (56.29%) (3.09%)
14,076 1,221 15,297
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(43.71%) (100.00%) (2.61%)
ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับความ
เหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืชตรง
ตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ าก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ปลูกข้าวที่
สามารถเปลี่ยนเป็นมะพร้าวได้ 122 ไร่ อยู่ในอ าเภอบางบ่อ (ตารางที่ 3 และภาพที่ 5 - 6 )
นอกจากพื้นที่ปลูกข้าวจะปลูกมะพร้าวทดแทนที่อ าเภอบางบ่อแล้ว ยังสามารถที่ปลูก
มะม่วงน้ าดอกไม้คุ้งบางกระเจ้า ซึ่งเป็นมะม่วงน้ าดอกไม้พันธุ์เขียวนวล หรือพันธุ์น้ าดอกไม้พระประแดง
ผลสุกเปลือกสีเหลืองอมเขียว เนื้อเหลืองจ าปา แน่น แห้ง เมล็ดลีบ กลิ่นหอม รสชาติหวานนุ่มลิ้น
4) แนวทางการจัดการ
พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรส่งเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให้เกษตรกร
ปลูกข้าวต่อไปเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตและได้ผลผลิตที่มีคุณภาพดี
ซึ่งการปลูกข้าวในพื้นที่ดังกล่าวข้างต้นสามารถน าไปสู่การต่อยอดโครงการที่ส าคัญต่าง ๆ ได้ เช่น
เกษตรอินทรีย์ ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ เกษตรแม่นย า เป็นต้น
พื้นที่ปลูกข้าวในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกข้าวในที่ดินที่ไม่มี
ข้อจ ากัดทางกายภาพต่อการปลูกข้าว ซึ่งควรสงวนไว้เป็นแหล่งปลูกข้าวที่ส าคัญของจังหวัด กระจายตัว
อยู่ในอ าเภอบางบ่อ อ าเภอบางเสาธง อ าเภอบางพลี อ าเภอเมืองสมุทรปราการ และพระสมุทรเจดีย์