Page 8 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสมุทรปราการ
P. 8
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
2
2) พื้นที่ที่น้ าทะเลเคยท่วมถึง (Former tidal flats) เป็นพื้นที่ที่น้ าทะเลเคยท่วมถึง
ในอดีต เป็นช่วงต่อระหว่างตะกอนน้ าทะเลกับตะกอนน้ าจืด มีสภาพพื้นที่ค่อนข้างราบเรียบ หรือเป็น
แอ่งต่ ามีน้ าขังตลอดปี การระบายน้ าเลวมาก มีเนื้อดินเป็นดินทรายแป้งละเอียดหรือดินเหนียว ที่มี
การพัฒนาชั้นดินไม่มากนัก สีเทาอ่อน มีจุดประสีน้ าตาลแก่ น้ าตาลปนเหลือง และน้ าตาลปนเขียว
มะกอก เช่น ชุดดินสมุทรปราการ (Sm) ชุดดินบางกอก (Bk) และชุดดินสมุทรสงคราม (Sso)
ซึ่งได้แสดงรายละเอียดของชุดดินที่พบมากของจังหวัดในภาพที่ 1 - 4
1.5 สภาพการใช้ที่ดิน
สภาพการใช้ที่ดินปัจจุบันของจังหวัดสมุทรปราการ จากฐานข้อมูลแผนที่สภาพการใช้ที่ดิน
ของกรมพัฒนาที่ดิน (ตารางที่ 1)
ตารางที่ 1 สภาพการใช้ที่ดินปัจจุบันของจังหวัดสมุทรปราการ
เนื้อที่
ประเภทการใช้ที่ดิน
ไร่ ร้อยละ
พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง 262,955 41.91
พื้นที่เกษตรกรรม 271,610 43.27
พื้นที่นา 25,233 4.02
ไม้ยืนต้น 37 0.01
ไม้ผล 5,159 0.81
พืชสวน 26 -
ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์และโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ 23 -
พืชน้ า 1,210 0.20
สถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ า 239,922 38.23
พื้นที่ป่าไม้ 13,902 2.22
พื้นที่น้ า 36,574 5.83
พื้นที่เบ็ดเตล็ด 42,517 6.77
รวม 627,557 100.00
ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน, 2562
1.6 พื้นที่ชลประทาน
จังหวัดสมุทรปราการมีเนื้อที่ชลประทาน 282,022.62 ไร่ (ร้อยละ 44.94 ของพื้นที่จังหวัด)
กระจายอยู่ใน 6 อ าเภอ พื้นที่ชลประทานมีความส าคัญในการพิจารณาเพิ่มศักยภาพการผลิต
ที่เหมาะสมของจังหวัดสมุทรปราการ (ตารางผนวกที่ 2)