Page 22 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเพชรบุรี
P. 22

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               15







                             2.3  สับปะรดโรงงาน
                                  สับปะรดโรงงาน พืชเศรษฐกิจหลักของเพชรบุรีในลําดับที่ 3 จากฐานขอมูลในแผนที่
                       เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online  สามารถวิเคราะหขอมูลออกเปน 3  พื้นที่ดังนี้  (ตารางที่ 7
                       และ ภาพที่ 10 - 11)

                                    1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกสับปะรดโรงงาน หรือ ชั้นความเหมาะสม

                       สําหรับที่ดิน ในระบบ Agri-Map Online จะพิจารณาจากปจจัยทางดินที่มีผลตอการเจริญเติบโตของ
                       พืช โดยไมคํานึงถึงชนิดพืชที่ปลูกอยูในปจจุบัน พบวาจังหวัดเพชรบุรีมีพื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูก
                       สับปะรดโรงงาน ดังนี้
                                     ระดับที่ 1 พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 256,521 ไร คิดเปนรอยละ 17.50 ของ

                       พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยูในอําเภอทายาง 122,180 ไร อําเภอเมืองชะอํา 50,005 ไร
                       อําเภอบานลาด 30,305 ไร
                                     ระดับที่ 2 พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 468,903 ไร คิดเปนรอยละ  32.00

                       ของ       พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยูในอําเภอชะอํา 140,739 ไร อําเภอทายาง 91,212 ไร
                       อําเภอหนองหญาปลอง 82,354 ไร
                                     ระดับที่ 3 พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 28,623 ไร คิดเปนรอยละ 1.95
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน อยูในอําเภอแกงกระจาน 18,501 ไร อําเภอทายาง 5,534 ไร
                       อําเภอหนองหญาปลอง 3,572 ไร

                                     ระดับที่ 4 พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 711,515 ไร

                                    2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกสับปะรดโรงงานในปจจุบัน จากการวิเคราะหศักยภาพของ
                       ที่ดินตอการปลูกสับปะรดโรงงานในแตละระดับความเหมาะสมรวมกับพื้นที่ปลูกสับปะรดโรงงานจริงใน

                       ปจจุบัน พบวาจังหวัดเพชรบุรีมีพื้นที่ปลูกสับปะรดโรงงานในชั้นความเหมาะสมตาง ๆ ดังตอไปนี้
                                     (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 2,547 ไร คิดเปนรอยละ 0.99 ของพื้นที่ศักยภาพ
                       สูง กระจายอยูในอําเภอชะอํา 1,718 ไร อําเภอทายาง 723 ไร และอําเภอแกงกระจาน 60 ไร
                                     (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 20,065 ไร คิดเปนรอยละ 4.28 ของพื้นที่

                       ศักยภาพปานกลาง กระจายอยูในอําเภอหนองหญาปลอง 6,589 ไร อําเภอชะอํา 5,146 ไร และ
                       อําเภอทายาง 3,882 ไร
                                     (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3)มีเนื้อที่ 2,657 ไร คิดเปนรอยละ 9.28 ของพื้นที่
                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายอยูในอําเภอแกงกระจาน 1,869 ไร อําเภอหนองหญาปลอง 510 ไร และ

                       อําเภอทายาง 222 ไร
                                     (4) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 1,302 ไร
                                   3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกสับปะรดโรงงานแตไมใช

                       พื้นที่ปลูก พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกสับปะรดโรงงาน และพื้นที่ปลูกสับปะรด
                       โรงงานในชั้นความเหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดเพชรบุรีมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับ
                       ความเหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น  702,812 ไร กระจายอยูทั่วทุก
                       อําเภอ โดยอําเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอทายาง 208,787 ไร รองลงมา ไดแก
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27