Page 13 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดนนทบุรี
P. 13
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
6
ตารางที่ 3 (ต่อ)
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
อำเภอ ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
79 16 46,006 46,101
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน (100.00%) (100.00%) - (100.00%) (100.00%)
เมือง พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ
นนทบุรี เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) - - - - -
79 16 95
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(100.00%) (100.00%) (0.21%)
1,588 6,154 26,508 34,250
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน -
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
บางกรวย พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 1,426 - - - 1,426
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (89.80%) (4.16%)
162 6,154 6,316
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ (10.20%) (100.00%) - - (18.44%)
115,565 109,869 171,674 379,108
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน -
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
รวมทั้ง พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 107,029 - - - 107,029
จังหวัด เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (92.61%) (28.23%)
8,536 109,869 171,674 118,405
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ -
(7.39%) (100.00%) (100.00%) (31.23%)
ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูก
พืชตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ำก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่าพื้นที่ที่จะ
ปรับเปลี่ยนไปปลูกข้าวได้ คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกมะพร้าว (S1) 278 ไร่ แต่เนื่องจากนโยบายของ
คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการข้าวต้องการรักษาดลุยภาพผลผลิตข้าว ดังนั้น จึงควรพิจารณา
ปลูกพืชเศรษฐกิจชนิดอื่นที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด (ตารางที่ 4)