Page 17 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดนนทบุรี
P. 17
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
10
ตารางที่ 5 (ต่อ)
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
อำเภอ ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
17,396 16,854 34,250
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน - (100.00%) - (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 44 44
บางกรวย - - -
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (0.25%) (0.13%)
17,352 17,352
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - (99.75%) - - (50.66%)
69,677 328,042 397,719
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน - -
(100.00%) (100.00%) (100.00%)
รวมทั้ง พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 97 282 379
จังหวัด เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) - (0.14%) - (0.09%) (0.10%)
69,580 327,760 69,580
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(99.86%) (99.91%) (17.49%)
ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืช
ตรงตามศักยภาพของดิน ลงทุนต่ำก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ที่ควรพิจารณา
ให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกมะพร้าว คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกข้าวในระดับความเหมาะสมสูง (S1)
จำนวน 5,530 ไร่ พบมากในอำเภอบางใหญ่ (ตารางที่ 6) และเนื่องจากนโยบายของคณะกรรมการบริหาร
จัดการข้าวต้องการรักษาดุลยภาพผลผลิตข้าว จึงอาจจะลดพื้นที่ปลูกข้าวโดยการนำพื้นที่เหล่านี้มา
ปรับเปลี่ยนเป็นพื้นที่ปลูกมะพร้าวได้ แต่จะต้องมีการลงทุนในการปรับเปลี่ยนพื้นที่ และใช้ระยะเวลา
3 - 4 ปี จึงจะได้ผลผลิต ในระหว่างนั้นจึงควรปลูกพืชอายุสั้นแซม หรือทำเป็นระบบเกษตรผสมผาน