Page 9 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดศรีสะเกษ
P. 9

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                2







                                   (1.1) สันดินริมน้ำ (Levee) เปนที่ดอน เกิดจากการทับถมของตะกอนน้ำพา
                       บริเวณริมฝงแมน้ำ เปนสันนูนขนานไปกับริมฝงแมน้ำ การระบายน้ำคอนขางดีถึงดี เนื้อดินคอนขางหยาบ
                       อาทิ ชุดดินชุมพลบุรี (Chp)
                                   (1.2) แองต่ำ (Back swamp) เปนดินลุม มีสภาพพื้นที่ราบเรียบ ดินลึกมาก

                       เนื้อดินเหนียวละเอียด มีสีเทาและน้ำตาลปนเทา การระบายน้ำเลว เชน ชุดดินกันทรวิชัย (Ka)
                               (2) ตะพักลำน้ำระดับต่ำ (Low terrace) เปนที่ลุม มีสภาพพื้นที่ราบเรียบ ดินลึกมาก
                       เนื้อดินอาจเปนดินเหนียวละเอียดถึงดินทรายแปงละเอียด สีเทา น้ำตาลปนเทา และน้ำตาล มีจุดประสี
                       การระบายน้ำคอนขางเลวถึงเลว เชน ชุดดินนครพนม (Nn) ชุดดินอุตรดิตถ ชุดดินศรีขรภูมิ (Sik) ชุดดิน

                       ธวัชบุรี (Th) ชุดดินทาตูม (Tt) เปนตน
                               (3) ตะพักลำน้ำระดับกลางและระดับสูง (Middle and High terrace) เปนที่ดอน
                       มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด ดินตื้นถึงชั้นกรวดลูกรังถึงดินลึกมาก เนื้อดินเปน
                       ดินรวนหยาบ ดินรวนละเอียดหรือดินรวนปนชิ้นสวนหยาบมาก สีน้ำตาล เหลือง น้ำตาลปนแดง

                       ไปจนถึงแดง การระบายน้ำดีปานกลางถึงดี เชน ชุดดินจักราช (Ckr) ชุดดินชุมพวง (Cpg) และ
                       ชุดดินสตึก (Suk)

                             2) พื้นที่เกือบราบ (Peneplain) เปนภูมิลักษณของพื้นผิวดินภายหลังการกรอน เกิดจาก
                       การผุพังดวยกระบวนการกรอนทำลายโดยน้ำ ทำใหพื้นที่สูงเดิมซึ่งขรุขระและสูงต่ำแตกตางกันมาก
                       มีระดับต่ำลงจนมีลักษณะคลายลูกคลื่นลอนลาดหรือพื้นที่เกือบราบ วัตถุตนกำเนิดดินเกิดจากการผุ

                       พังสลายตัวอยูกับที่หรือเคลื่อนยายมาในระยะทางไมไกล ดินจึงมีลักษณะเดนตามวัตถุตนกำเนิดหรือ
                       หินที่รองรับอยูดานลางและระดับการพัฒนาตัวของดิน แบงเปน
                               (1)  พื้นที่แบบราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย การระบายน้ำคอนขางเลวถึงเลวใน

                       บริเวณที่ราบลุมหรือที่ราบ หรือตามรองระหวางที่ดอนหรือเนิน เนื้อดินสวนใหญมีทรายปน มีสีเทา
                       หรือน้ำตาลปนเทา พบจุดสีตางๆ ถัดขึ้นมาบริเวณพื้นที่ที่คอนขางราบเรียบถึงเปนลูกคลื่นลอนลาด
                       เล็กนอย มีสีน้ำตาล น้ำตาลปนเหลือง และเหลือง และมีจุดประสีเทาคอนขางชัดเจน โดยเฉพาะ
                       ในชวงตอนบนเนื่องจากการขังน้ำ พบจุดประสีเหลือง น้ำตาล หรือแดงในดินลาง มีการระบายน้ำ

                       คอนขางเลวถึงดีปานกลาง อาจพบชั้นดินเหนียวในตอนลางของหนาตัด และอาจพบชั้นลูกรังในชวงที่
                       เปลี่ยนจากเนื้อดินหยาบเปนเนื้อดินละเอียด คาปฏิกิริยาดินในสนามสวนใหญเปนกรดจัดถึงเปนกลาง
                       เชน ชุดดินเรณู (Rn) ชุดดินรอยเอ็ด (Re) ชุดดินอุบล (Ub) และชุดดินมหาสารคาม (Msk) เปนตน
                               (2)  พื้นที่เปนแบบลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงสภาพพื้นที่แบบเนินเขา ดินสวนใหญมี

                       การระบายน้ำคอนขางดีถึงดี สีน้ำตาล น้ำตาลปนเหลือง เหลือง น้ำตาลปนแดง เหลืองปนแดง จนถึงสีแดง
                       เนื้อดินมีทรายปนอยางชัดเจน บางบริเวณพบลูกรังในหนาตัดดิน คาปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปน
                       กรดปานกลาง ชุดดินสีทน (St) พบบริเวณพื้นที่ที่มีลักษณะเปนรอง ชุดดินโนนแดง (Ndg) และ
                       ชุดดินคง (Kng)ชุดดินพระทองคำ (Ptk) คำบง (Kg) ปกธงชัย (Ptc) พบบริเวณพื้นที่ลักษณะเปนที่

                       คอนขางราบถึงเปนลูกคลื่น ดินที่เกิดความไมตอเนื่องทางธรณีวิทยา (Lithologic discontinuities)
                       สวนใหญมักเปนชั้นดินทรายในตอนบน แลวเปลี่ยนเปนดินเหนียวหรือชั้นหินพื้น (weathering in situ) ใน
                       ตอนลาง (Abrupt textural change) เชน ชุดดินพล (Pho) ชุดดินนาดูน (Nad) ชุดดินเขมราฐ (Kmr)

                       และชุดดินนาดู (Nu) เปนตน
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14