Page 12 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดศรีสะเกษ
P. 12

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                5







                           จังหวัดศรีสะเกษ มีพื้นที่พืชเศรษฐกิจสำคัญที่ปลูกมาก 4 ลำดับแรก ไดแก ขาว ยางพารา
                       มันสำปะหลัง และออยโรงงาน ตามลำดับ (ตารางที่ 2)

                       ตารางที่ 2  พื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจที่มีพื้นที่ปลูกมาก 4 ลำดับแรกของจังหวัดศรีสะเกษ

                                พืชเศรษฐกิจ                  เนื้อที่ (ไร)     รอยละของพื้นที่เกษตรกรรม
                             1. ขาว                         3,360,129                     78.49

                             2. ยางพารา                       356,163                       8.32
                             3. มันสำปะหลัง                   179,496                       4.19
                             4. ออยโรงงาน                     17,636                       0.41

                       ที่มา: https://agri-map-online.moac.go.th, 2564
                         2.1  ขาว

                                ขาวเปนพืชเศรษฐกิจหลักลำดับที่ 1 ของจังหวัดศรีสะเกษ เนื่องจากมีตลาดขาวขนาดใหญ
                       รองรับ จังหวัดศรีสะเกษเปนแหลงผลิตขาวที่สำคัญ ประกอบกับเกษตรกรมีความถนัดในการผลิตมา
                       ตั้งแตอดีต จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online วิเคราะหขอมูลไดดังนี้

                       (ตารางที่ 3 และภาพที่ 6 ถึง 7)

                               1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกขาว
                                     ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 290,394 ไร คิดเปนรอยละ 5.87
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากอยูในอำเภอราษีไศล 48,993 ไร อำเภอขุขันธ 35,597 ไร และ
                       อำเภอภูสิงห 31,271 ไร

                                     ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 2,022,974 ไร คิดเปน
                       รอยละ 40.97 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากอยูในอำเภอขุขันธ 255,572 ไร อำเภอราษีไศล
                       145,624 ไร อำเภอเมืองศรีสะเกษ 143,069 ไร
                                     ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 1,294,233 ไร คิดเปนรอยละ

                       26.20 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากอยูในอำเภอกันทรลักษ 169,848 ไร อำเภอกันทรารมย
                       168,147 ไร อำเภอขุขันธ 133,336 ไร
                                     ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 1,331,800 ไร

                             2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวในปจจุบัน ซึ่งจำแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน ไดดังนี้
                                       (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 239,749 ไร คิดเปนรอยละ 82.56 ของพื้นที่

                       ศักยภาพสูง พบมากอยูในอำเภอราษีไศล 41,254 ไร อำเภอขุขันธ 30,214 ไร อำเภอภูสิงห
                       25,107 ไร
                                     (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 1,754,231 ไร คิดเปนรอยละ 86.72 ของ

                       พื้นที่ศักยภาพปานกลาง พบมากอยูในอำเภอขุขันธ 227,198 ไร อำเภอเมืองศรีสะเกษ 127,114 ไร
                       อำเภอราศีไศล 125,261 ไร
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17