Page 10 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดศรีสะเกษ
P. 10

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                3







                             3) ที่ลาดเชิงเขา (Piedmont) เขา (Hill) ภูเขา (Mountain) มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่น
                       ลอนลาดถึงเนินเขา ที่เกิดจากการที่หินผุพังสลายตัวอยูกับที่หรือถูกเคลื่อนยายโดยแรงโนมถวงของโลก
                       ในระยะทางใกลๆ และถูกควบคุมดวยลักษณะของโครงสรางทางธรณีวิทยา สวนใหญพบหินปะปนใน
                       หนาตัดดินและลอยหนา แบงตามลักษณะและชนิดของหินดังนี้

                               (1)  พัฒนาจากหินทราย ดินมีการระบายน้ำตั้งแตดีปานกลางถึงคอนขางมากเกินไป
                       สีน้ำตาล น้ำตาลปนเหลือง เหลือง น้ำตาลปนแดง เหลืองปนแดง จนถึงแดง เนื้อดินมีทรายปนอยาง
                       ชัดเจน พบเศษหินปะปนในหนาตัดดินหรือบนผิวดิน คาปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด
                       เชน ชุดดินภูพาน (Pu) และวังน้ำเขียว (Wk) เปนตน

                               (2) พัฒนาจากหินภูเขาไฟ ดินมีการระบายน้ำดีปานกลางถึงดี สีน้ำตาล น้ำตาลปนเหลือง
                       น้ำตาลปนแดง หรือแดง เปนดินรวนเหนียวถึงเหนียวมาก คาปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง
                       เชน ชุดดินบุรีรัมย (Br) ชุดดินโชคชัย (Ci) ชุดดินครบุรี (Kbr) และชุดดินศรีสะเกษ (Ssk) เปนตน
                             4) พื้นที่ลาดชันเชิงซอน เปนพื้นที่ที่มีความลาดชันมากกวารอยละ 35 ทรัพยากรดิน

                       มีความแตกตางกันออกไปในแตละพื้นที่
                             ซึ่งไดแสดงรายละเอียดของชุดดินที่พบมากของจังหวัดศรีสะเกษ ในภาพที่ 1 - 5

                         1.5  สภาพการใชที่ดิน
                             สภาพการใชที่ดินปจจุบันของจังหวัดศรีสะเกษ จากฐานขอมูลแผนที่สภาพการใชที่ดินของ
                       กรมพัฒนาที่ดิน (ตารางที่ 1)

                       ตารางที่ 1  สภาพการใชที่ดินปจจุบันของจังหวัดศรีสะเกษ

                                                                                        เนื้อที่
                                        ประเภทการใชที่ดิน
                                                                                    ไร           รอยละ

                            พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง                           312,338          5.66
                            พื้นที่เกษตรกรรม                                     4,280,994         77.48
                                พื้นที่นา                                         3,365,062        60.91

                                พืชไร                                             260,877          4.71
                                ไมยืนตน                                          575,445         10.42
                                ไมผล                                               35,696          0.66

                                พืชสวน                                              39,112          0.70
                                ทุงหญาเลี้ยงสัตวและโรงเรือนเลี้ยงสัตว             3,174         0.06

                                สถานที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ำ                              881          0.01
                                เกษตรผสมผสาน/ไรนาสวนผสม                               747          0.01
                            พื้นที่ปาไม                                          631,987         11.44

                            พื้นที่น้ำ                                             166,610          3.02
                            พื้นที่เบ็ดเตล็ด                                       133,055          2.40

                                               รวม                                 5,524,984      100.00
                       ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน, 2562
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15