Page 8 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดศรีสะเกษ
P. 8

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน










                       1. ขอมูลทั่วไป

                         จังหวัดศรีสะเกษมีพื้นที่ 8,839.976 ตารางกิโลเมตร หรือ 5,524,984 ไร ตั้งอยูจังหวัดในภาค
                       ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ประกอบดวย 22 อำเภอ 205 ตำบล (ตารางผนวกที่ 1)
                       จังหวัดศรีสะเกษมีขนาดพื้นที่ใหญเปนอันดับที่ 9 มีประชากรมากเปนอันดับที่ 6 ของภาค

                       ตะวันออกเฉียงเหนือ มีประชากร 1,458,580 คน (กรมการปกครอง, 2563)

                         1.1  อาณาเขตติดตอ
                             ทิศเหนือ      ติดตอ   จังหวัดรอยเอ็ด จังหวัดยโสธร และจังหวัดอุบลราชธานี
                             ทิศใต       ติดตอ   ราชอาณาจักรกัมพูชา

                             ทิศตะวันออก   ติดตอ   จังหวัดอุบลราชธานี
                             ทิศตะวันตก    ติดตอ   จังหวัดสุรินทร

                         1.2  ภูมิประเทศ
                             ภูมิประเทศของจังหวัดศรีสะเกษสวนใหญเปนที่ราบสูงสลับทุงนา มีภูเขาอยูทางตอนใต ทิวเขา
                       พนมดงรักทอดตัวในแนวตะวันตก-ตะวันออก เปนเสนแบงเขตแดนระหวางประเทศไทยกับ

                       ราชอาณาจักรกัมพูชา และพื้นที่จะคอย ๆ ลาดลงสูทิศเหนือและทิศตะวันตก ซึ่งเต็มไปดวยหวย คลอง
                       หนอง บึง ตาง ๆ ตลอดระยะทางที่ลำน้ำมูลและลำน้ำชีไหลผาน ซึ่งทางตอนใต มีลักษณะภูมิประเทศ ดังนี้
                             1) ภูเขาและเทือกเขา ยอดเขาสูงที่สุด คือ ยอดเขาพนมตาเมือน ในเขตอำเภอขุนหาญ
                             2) ที่ราบลุมอยูทางเหนือและตอนกลางของจังหวัด เปนที่ราบเรียบถึงคอนขางราบ แมน้ำมูล
                       ไหลผานตอนกลางของจังหวัดแนวตะวันตกและแนวตะวันออก มีหวย คลอง หนอง บึง ตลอดแนว

                       แมน้ำ ฤดูฝนมักมีน้ำทวมพื้นที่ริมฝงของแมน้ำมูล

                         1.3  ภูมิอากาศ
                             สภาพภูมิอากาศของจังหวัดศรีสะเกษเปนแบบรอนชื้นหรือภูมิอากาศแบบทุงหญาสะวันนา (Aw)
                       ตามการแบงเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปน โดยทั่วไปมีอากาศรอนจัดในฤดูรอนและคอนขางหนาวในฤดูหนาว

                       มี 3 ฤดู ไดแก ฤดูรอน เริ่มตั้งแตเดือนกุมภาพันธถึงพฤษภาคม อากาศรอนจัดในชวงเดือนเมษายน
                       ของทุกป ฤดูฝน เริ่มตั้งแตเดือนพฤษภาคมถึงตุลาคม เดือนสิงหาคมมีฝนตกชุกที่สุดในรอบป และฤดูหนาว
                       เริ่มตั้งแตเดือนตุลาคมถึงกุมภาพันธ อากาศหนาวเย็น หนาวจัดในชวงเดือนธันวาคมถึงมกราคมของทุกป
                       อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย 22.3 องศาเซลเซียส

                         1.4  ทรัพยากรดิน

                             ทรัพยากรดินของจังหวัดศรีสะเกษ แบงตามภูมิสัณฐาน ลักษณะทางธรณีวิทยา และวัตถุ
                       ตนกำเนิดดิน ไดดังนี้

                             1) ที่ราบเกิดจากการทับถมตะกอนลำน้ำ (Alluvium) จำแนกไดเปน 3 ลักษณะ ไดแก

                               (1) ที่ราบน้ำทวมถึง (Flood plain) ที่ราบริมแมน้ำหรือลำธาร หนาฝนหรือหนาน้ำ มักมี
                       น้ำทวมเปนครั้งคราว เปนสภาพพื้นที่ที่เกิดจาการทับถมของตะกอนน้ำพา และมีตะกอนเพิ่มมากขึ้น

                       หลังน้ำทวม แบงเปน
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13