Page 11 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดศรีสะเกษ
P. 11

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                4







                         1.6  พื้นที่ชลประทาน
                             จังหวัดศรีสะเกษมีเนื้อที่ชลประทาน 236,197.94 ไร (รอยละ 4.28 ของพื้นที่จังหวัด)
                       กระจายอยูใน 14 อำเภอมีอางเก็บน้ำที่สำคัญ 13 อาง มีศักยภาพในการเก็บกักน้ำไดรวม 184.79
                       ลานลูกบาศกเมตร พื้นที่ชลประทานมีความสำคัญในการพิจารณาเพิ่มศักยภาพการผลิตที่เหมาะสม

                       (ตารางผนวกที่ 2 และตารางผนวกที่ 3)

                         1.7  เขตปฏิรูปที่ดิน
                             เขตปฏิรูปที่ดินในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ มีเนื้อที่ 1,545,275 ไร (รอยละ 27.97 ของพื้นที่
                       จังหวัด) โดยอำเภอที่มีพื้นที่เขตปฏิรูปที่ดินมากที่สุด ไดแก อำเภอกันทรลักษ อำเภอขุนหาญ และ
                       อำเภอขุขันธ ตามลำดับ (ตารางผนวกที่ 4)

                         1.8  การขึ้นทะเบียนเกษตรกร

                             จากฐานขอมูลทะเบียนเกษตรกรของกรมสงเสริมการเกษตร จังหวัดศรีสะเกษ มีการขึ้น
                       ทะเบียนเกษตรกรผูปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตวทั้งหมดในป 2563 จำนวน 317,838 ราย รวมพื้นที่
                       3,658,612 ไร กิจกรรมที่มีพื้นที่ปลูกมากไดแก ขาวนาป มันสำปะหลังโรงงาน และยางพารา ตามลำดับ
                       (ตารางผนวกที่ 5)

                             ทะเบียนเกษตรกรพืชสมุนไพร จากฐานขอมูลกลาง (Farmer one) ของสำนักงานเศรษฐกิจ
                       การเกษตร เกษตรกรไดขึ้นทะเบียนปลูกพืชสมุนไพรในจังหวัดศรีสะเกษ พื้นที่ 6,536 ไร เกษตรกร 608 ราย
                       มีพืชสมุนไพรหลัก 9 ชนิด พืชสมุนไพรที่มีการปลูกมาก ไดแก กระเจี๊ยบแดง ตะไครหอม ไพล ตามลำดับ

                       (ตารางผนวกที่ 6)
                         1.9  ที่ตั้งโรงงานและแหลงรับซื้อสินคาเกษตร

                             จังหวัดศรีสะเกษมีแหลงรับซื้อสินคาเกษตรและสหกรณการเกษตรที่สำคัญ จำนวน 91 แหง
                       และที่ตั้งโรงงานทางการเกษตร 120 แหง (ตารางผนวกที่ 7)

                       2. การวิเคราะหพืชเศรษฐกิจหลัก

                           พืชเศรษฐกิจที่สำคัญพิจารณาจากพืชที่มีพื้นที่ปลูกมากและมีมูลคาการสงออกหรือแปรรูป

                       โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณประกาศพืชเศรษฐกิจ 13 ชนิดพืช ไดแก ขาว มันสำปะหลัง ยางพารา
                       ปาลมน้ำมัน ออยโรงงาน ขาวโพดเลี้ยงสัตว สับปะรดโรงงาน ลำไย เงาะ ทุเรียน มังคุด มะพราว และ
                       กาแฟ จากพื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจดังกลาว กรมพัฒนาที่ดินไดกำหนดระดับความเหมาะสมของพื้นที่ปลูก
                       รายจังหวัด โดยวิเคราะหจากสภาพพื้นที่ ลักษณะของดิน ปริมาณน้ำฝน แหลงน้ำชลประทาน รวมกับ

                       การจัดการพื้นที่และลักษณะรายพืช โดยแบงระดับความเหมาะสม เปน 4 ระดับ ไดแก
                           ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) การปลูกพืชใหผลตอบแทนสูง
                           ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) การปลูกพืชใหผลตอบแทนสูง แตพบขอจำกัด
                       บางประการซึ่งสามารถบริหารจัดการได

                           ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีขอจำกัดบางประการของดินและน้ำ สงผลใหการผลิตพืช
                       ใหผลตอบแทนต่ำ การใชพื้นที่ตองใชตนทุนสูงในการจัดการ และมีความเสี่ยงจากน้ำทวมและขาดน้ำ
                           ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N)
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16