Page 32 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดมุกดาหาร
P. 32

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               25








                             4) พื นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมส าหรับการปลูกยางพารา แต่เกษตรกรหันมา
                       ปลูกพืชอื่นทดแทน เช่น ข้าว มันส าปะหลัง อ้อยโรงงาน โดยควรเน้นให้เกษตรกรปลูกพืชดังกล่าวต่อไป
                       เนื่องจากปัจจุบันตามมาตรการยุทธศาสตร์ยางพารา เน้นการลดพื้นที่การปลูกยางพาราอยู่แล้ว ฉะนั้น
                       ควรสร้างความตระหนักให้เกษตรกร เน้นการท าการเกษตรแบบผสมผสาน หรือการเข้าร่วมโครงการ

                       เกษตรทฤษฎีใหม่ หรือวนเกษตร เพื่อท าให้เกษตรกรสามารถใช้พื้นที่อย่างคุ้มค่ามากที่สุดต่อไป

                         4.4  มันส าปะหลัง

                             1) พื นที่ปลูกมันส าปะหลังที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปัจจุบันยังปลูกมันส าปะหลัง
                       อยู่ มีเนื้อที่ 342 ไร่ มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอ าเภอนิคมค าสร้อย อ าเภอหนองสูง อ าเภอเมืองมุกดาหาร
                       และอ าเภอค าชะอี ตามล าดับ ตามมาตรการยุทธศาสตร์มันส าปะหลัง 2564 - 2567 เน้นให้เกษตรกร
                       เข้าถึงพันธุ์มันส าปะหลังต้านทานโรคใบด่างมันส าปะหลัง (Cassava Mosaic Disease: CMD)

                       ให้เชื้อแป้งสูง และมีผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ไม่ต่ ากว่า 5 ตัน ภายในปี 2567 โดยเน้นการเพิ่มผลผลิต
                       มันส าปะหลัง และลดต้นทุนผลผลิตในพื้นที่ที่มีศักยภาพสูง เร่งหาแนวทางแก้ไขปัญหาโรคโคนเน่าหัวเน่า
                       และโรคใบด่างมันส าปะหลัง ส่งเสริมการท าระบบน้ าหยดในพื้นที่ที่มีศักยภาพ การปรับปรุงบ ารุงดิน
                       การใส่ปุ๋ยที่ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ท าการวิเคราะห์คุณภาพดินอยู่เสมอ ส่งเสริมเกษตรกรแปรรูป

                       มันส าปะหลังเบื้องต้นเพื่อเพิ่มมูลค่า เช่น การแปรรูปมันเส้นสะอาด สร้างความร่วมมือระหว่าง
                       เกษตรกรและโรงงาน เพื่อวางแผนการขุดของเกษตรกร ประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรเก็บเกี่ยว
                       ในช่วงอายุ และระยะเวลาที่เหมาะสม ใช้ท่อนพันธุ์ที่ต้านทานโรค และให้ผลผลิตสูง เข้าร่วมโครงการ

                       เกษตรแปลงใหญ่ และส่งเสริมให้เกษตรกรเป็น Smart Farmer
                             2) พื นที่ปลูกมันส าปะหลังที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปัจจุบันยังปลูก

                       มันส าปะหลังอยู่ มีเนื้อที่ 59,941 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในเขตอ าเภอเมืองมุกดาหาร อ าเภอนิคมค าสร้อย
                       และอ าเภอดอนตาล ตามล าดับ เกษตรกรยังคงปลูกมันส าปะหลังได้ผลดี จึงต้องพัฒนาศักยภาพของ
                       พื้นที่ในเรื่องของคุณภาพดิน และท าการตรวจวิเคราะห์คุณภาพดินอยู่เสมอ ส่งเสริมให้มีการใส่ปุ๋ยตาม

                       ค่าวิเคราะห์ดิน ซึ่งอาจต้องใช้ปุ๋ยสั่งตัด สร้างความรู้ความเข้าใจให้กับเกษตรกรในการจัดการพื้นที่
                       การปลูก การดูแลรักษา การป้องกันโรค แมลงศัตรูพืช และการเก็บเกี่ยว ส่งเสริมการใช้ท่อนพันธุ์
                       ที่ต้านทานโรค และให้ผลผลิตสูง พัฒนาระบบน้ าหยดและการใช้น้ าจากแหล่งน้ าในพื้นที่ ให้มีการใช้
                       ประโยชน์กับมันส าปะหลังให้มากที่สุด ส่งเสริมเกษตรกรแปรรูปมันส าปะหลังเบื้องต้นเพื่อเพิ่มมูลค่า

                       เช่น การแปรรูปมันเส้นสะอาด ประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรเก็บเกี่ยวในช่วงอายุ และระยะเวลาที่
                       เหมาะสม
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37