Page 14 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดนครราชสีมา
P. 14
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
7
(ปลูกจริง) พบว่าจังหวัดนครราชสีมามีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง (S1) และ
ความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 597,400 ไร่ โดยอำเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด
ได้แก่ อำเภอห้วยแถลง 56,721 ไร่ รองลงมาได้แก่ อำเภอปักธงชัย 47,500 ไร่ อำเภอสูงเนิน 41,242
ไร่ และอำเภอพิมาย 39,470 ไร่ มีรายละเอียดดังนี้
(1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 244,021 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 38.64 ของ
พื้นที่ศักยภาพสูง พบมากในอำเภอพิมาย 30,023 ไร่ อำเภอโชคชัย 21,946 ไร่ และอำเภอครบุรี
19,492 ไร่
(2) พื้นที่เหมาะสมปานกลางคงเหลือ (S2) มีเนื้อที่ 353,379 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 32.67
ของพื้นที่ศักยภาพปานกลาง พบมากในอำเภอห้วยแถลง 46,745 ไร่ อำเภอปักธงชัย 30,559 ไร่ และ
อำเภอสูงเนิน 25,771 ไร่
ตารางที่ 3 พื้นที่ศักยภาพ พื้นที่ปลูกจริง พื้นที่คงเหลือของข้าวรายอำเภอ จังหวัดนครราชสีมา
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
อำเภอ ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
11,344 26,885 45,542 114,993 198,764
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 3,851 18,780 34,345 15,053 72,029
แก้งสนามนาง
เหมาะสมต่างๆ (ปลูกจริง) (33.95%) (69.85%) (75.41%) (13.09%) (36.24%)
7,493 8,105 15,598
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(66.05%) (30.15%) (7.85%)
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน 3,316 6,218 47,024 72,742 129,299
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 2,857 5,620 28,917 1,088 38,481
ขามทะเลสอ
เหมาะสมต่างๆ (ปลูกจริง) (86.16%) (90.38%) (61.49%) (1.50%) (29.76%)
459 598 1,057
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(13.84%) (9.62%) (5.84%)
7,296 7,057 102,773 94,059 211,185
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 90,152 6,029 96,181
ขามสะแกแสง - -
เหมาะสมต่างๆ (ปลูกจริง) (87.72%) (6.41%) (45.54%)
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ 7,296 7,057 - - 14,353
(100.00%) (100.00%) (6.80%)