Page 21 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดลำพูน
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               14








                               (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให
                       เขาโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน ทำการเกษตรผสมผสานหรือพืชที่ใหผลตอบแทนสูงกวา

                       โดยพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย


                           2.3  ขาวโพดเลี้ยงสัตว
                                  ขาวโพดเลี้ยงสัตว พืชเศรษฐกิจหลักของลำพูนลำดับที่ 3 จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตร

                       เชิงรุก หรือ Agri-Map Online สามารถวิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 7 และภาพที่ 10 - 11)

                                     1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว
                                      ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 1,235 ไร  มีเนื้อที่ 1,235 ไร คิดเปน

                       รอยละ 0.15 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยูในอำเภอปาซาง 769 ไร อำเภอเมืองลำพูน 241 ไร

                       และอำเภอแมทา 209 ไร
                                      ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 370,665 ไร คิดเปน

                       รอยละ 43.86 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยูในอำเภอลี้ 119,851 ไร อำเภอปาซาง 75,864 ไร

                       และอำเภอบานโฮง 70,974 ไร
                                      ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 156,256 ไร คิดเปนรอย

                       ละ 18.48 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยูในอำเภอลี้ 59,871 ไร อำเภอปาซาง 25,291 ไร
                       และอำเภอบานโฮง 22,161 ไร

                                      ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 317,004 ไร

                                   2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในปจจุบัน ซึ่งจำแนกตามชั้นความ
                       เหมาะสมของที่ดิน ไดดังนี้

                                      (1)  พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 27,357 ไร คิดเปนรอยละ 7.38 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพปานกลาง กระจายอยูในอำเภอลี้ 22,989 ไร อำเภอทุงหัวชาง 3,444 ไร และอำเภอ

                       ปาซาง 539 ไร
                                      (2)  พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 17,402 ไร คิดเปนรอยละ 11.14 ของพื้นที่

                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายอยูในอำเภอลี้ 10,159 ไร อำเภอทุงหัวชาง 6,425 ไร และอำเภอแมทา 415 ไร

                                      (3)   พื้นที่ไมเหมาะสม (N) ในการปลูกขาว มีเนื้อที่ 10,348 ไร
                               3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวแตยังไมใช

                       พื้นที่ปลูก พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสำหรับการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว และพื้นที่ปลูก

                       ขาวโพดเลี้ยงสัตว ในชั้นความเหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดลำพูนมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือ
                       ในระดับความเหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 344,543 ไร กระจาย

                       อยูทั่วทุกอำเภอ โดยอำเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อำเภอลี้ 96,862 ไร รองลงมา
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26