Page 28 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดนครสวรรค์
P. 28

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               21








                       ตารางที่ 7  (ตอ)

                                                                       เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร)
                         อําเภอ        ประเภทพื้นที่
                                                           S1         S2         S3         N         รวม

                                                             338      139,122    105,948    165,919    411,327
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                         (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)
                                 พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   222       3,819      2,950         13       7,004
                        พยุหะคีรี
                                 เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)   (65.68%)   (2.75%)   (2.78%)    (0.01%)    (1.70%)

                                                             116      135,303         -          -     135,419
                                 พื้นที่ศักยภาพคงเหลือ
                                                          (34.32%)   (97.25%)                         (32.92%)

                                                            2,242     39,508     100,982    309,850    452,582
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                         (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)
                                 พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   417      24,111     65,635         10      90,173
                         ลาดยาว
                                 เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)   (18.60%)   (61.03%)   (65.00%)   (0.01%)   (19.92%)

                                                            1,825     15,397          -          -      17,222
                                 พื้นที่ศักยภาพคงเหลือ
                                                          (81.40%)   (38.97%)                          (3.81%)
                                                             370      92,717    73,058%)    324,946    491,091
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                         (100.00%)   (100.00%)   (100.00   (100.00%)   (100.00%)
                                 พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ     5      36,972     47,949        319      85,245
                        หนองบัว
                                 เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)   (1.35%)   (39.88%)   (65.63%)   (0.10%)   (17.36%)

                                                             365      55,745          -          -      56,110
                                 พื้นที่ศักยภาพคงเหลือ
                                                          (98.65%)   (60.12%)                         (11.43%)

                                                          268,158   1,265,683   690,439   3,138,198   5,362,478
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                        (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)
                         รวมทั้ง  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   41,076   235,298   278,674     2,522     557,570
                         จังหวัด  เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)   (15.32%)   (18.59%)   (40.36%)   (0.08%)   (10.40%)

                                                          227,082   1,030,385         -          -   1,257,467
                                 พื้นที่ศักยภาพคงเหลือ
                                                         (84.68%)   (81.41%)                          (23.45%)

                                ทั้งนี้ ในการสงเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
                       ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เทานั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูก
                       พืชตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ําก็สามารถเพิ่มผลผลิตได จึงควรสงเสริมในพื้นที่ดังกลาว

                                   เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวาพื้นที่ที่ควร
                       พิจารณาใหมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกมันสําปะหลัง คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกขาว (S3+N) 157,634 ไร
                       (ตารางที่ 8)
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33