Page 29 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดนครสวรรค์
P. 29

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               22








                       ตารางที่ 8  พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตมันสําปะหลัง

                                                                        ขาว (ไร)
                               อําเภอ
                                                        S3                N                  รวม
                           เมืองนครสวรรค             11,525              125              11,650
                           แมเปน                     1,129              226               1,355

                           แมวงก                     7,057            1,131               8,188
                           โกรกพระ                    11,030               29              11,059

                           ไพศาลี                     36,525              170              36,695
                           ชุมตาบง                     3,512              121               3,632
                           ตากฟา                      2,508              513               3,020

                           ตาคลี                      10,571                -              10,571
                           ทาตะโก                    15,296              202              15,498

                           บรรพตพิสัย                    200                -                 200
                           พยุหะคีรี                  23,304              323              23,627
                           ลาดยาว                      5,527            1,208               6,735

                           หนองบัว                    25,264              140              25,404
                                รวม                  153,448            4,188             157,634


                              4) แนวทางการจัดการ

                                (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนใหเกษตรกร
                       ปลูกมันสําปะหลังตอไปเนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและไดผลผลิต
                       ที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกมันสําปะหลังในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนําไปสูการตอยอดโครงการที่
                       สําคัญตาง ๆ ได เชน เกษตรอินทรีย ระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ เกษตรแมนยํา เปนตน

                                  พื้นที่ปลูกมันสําปะหลังในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกมันสําปะหลัง
                       ในที่ดินที่ไมมีขอจํากัดทางกายภาพตอการปลูกมันสําปะหลัง ซึ่งควรสงวนไวเปนแหลงปลูกมันสําปะหลังที่
                       สําคัญของจังหวัด กระจายอยูในอําเภอแมวงก อําเภอไพศาลี และอําเภอบรรพตพิสัย

                                  พื้นที่ปลูกมันสําปะหลังในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูก
                       มันสําปะหลังในที่ดินที่มีขอจํากัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกมันสําปะหลัง เชน ความอุดมสมบูรณ
                       ของดิน ความเปนกรดเปนดาง ความชื้น โดยกระจายอยูใน อําเภอแมวงก อําเภอหนองบัว และอําเภอไพศาลี
                                (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนใหเขา
                       โครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกมันสําปะหลัง

                       มีตนทุนที่ต่ํา และใหผลตอบแทนที่ดีกวา แตทั้งนี้ตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34