Page 25 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดนครสวรรค์
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               18








                                (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 235,298 ไร คิดเปนรอยละ 18.59 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอแมวงก 80,599 ไร อําเภอหนองบัว 36,972 ไร และ
                       อําเภอไพศาลี 26,921 ไร
                                (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 278,674 ไร คิดเปนรอยละ 40.36 ของพื้นที่

                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอลาดยาว 65,635 ไร อําเภอไพศาลี 62,588 ไร และ
                       อําเภอแมวงก 51,225 ไร
                                (4)  พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 2,522 ไร
                              3)  พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกมันสําปะหลังแตยังไมใชพื้นที่ปลูก

                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกมันสําปะหลัง และพื้นที่ปลูกมันสําปะหลัง
                       ในชั้นความเหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดนครสวรรคมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับ
                       ความเหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 1,257,467 ไร กระจายอยูใน
                       อําเภอตาง ๆ โดยอําเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอตากฟา 186,663 ไร

                       รองลงมาไดแก อําเภอตาคลี 186,659 ไร และอําเภอไพศาลี 145,008 ไร โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 227,082 ไร คิดเปนรอยละ 84.68 ของพื้นที่
                       ศักยภาพสูง พบมากในอําเภอไพศาลี 82,245 ไร อําเภอบรรพตพิสัย 50,198 ไร และอําเภอตากฟา

                       27,723 ไร
                                (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลางคงเหลือ (S2) มีเนื้อที่ 1,030,385 ไร คิดเปนรอยละ 81.41
                       ของพื้นที่ศักยภาพปานกลาง พบมากในอําเภอตาคลี 183,670 ไร อําเภอตากฟา 158,940 ไร อําเภอ
                       พยุหะคีรี 135,303 ไร


                       ตารางที่ 7  พื้นที่ศักยภาพ พื้นที่ปลูกจริง พื้นที่คงเหลือของมันสําปะหลังรายอําเภอ จังหวัดนครสวรรค

                                                                       เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร)
                          อําเภอ        ประเภทพื้นที่
                                                            S1        S2        S3         N        รวม
                                                               23      23,745      101    123,529   147,398
                                   พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                          (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)
                                   พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ             156       101         -       257
                         เกาเลี้ยว
                                   เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)      -    (0.66%)   (100.00%)            (0.17%)

                                                               23      23,589        -         -     23,612
                                   พื้นที่ศักยภาพคงเหลือ
                                                          (100.00%)   (99.34%)                      (16.02%)
                                                              851     112,744    26,718   273,607   413,920
                                   พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                          (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)

                          เมือง    พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   72      2,844      7,509        6     10,431
                        นครสวรรค  เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)   (8.46%)   (2.52%)   (28.10%)   (0.01%)   (2.52%)

                                                              779     109,900        -         -    110,679
                                   พื้นที่ศักยภาพคงเหลือ
                                                           (91.54%)   (97.48%)                      (26.74%)
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30