Page 24 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดนครสวรรค์
P. 24

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               17








                              4) แนวทางการจัดการ
                                (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนใหเกษตรกร
                       ปลูกออยโรงงานตอไป เนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและไดผลผลิต
                       ที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกออยโรงงานในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนําไปสูการตอยอดโครงการ

                       ที่สําคัญตาง ๆ ได เชน เกษตรอินทรีย ระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ เกษตรแมนยํา เปนตน
                                  พื้นที่ปลูกออยโรงงานในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกออยโรงงาน
                       ในที่ดินที่ไมมีขอจํากัดทางกายภาพตอการปลูกออยโรงงาน ซึ่งควรสงวนไวเปนแหลงปลูกออยโรงงาน

                       ที่สําคัญของจังหวัด กระจายอยูอําเภอบรรพตพิสัย อําเภอเกาเลี้ยว เปนตน
                                  พื้นที่ปลูกออยโรงงานในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูกออยโรงงาน
                       ในที่ดินที่มีขอจํากัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกออยโรงงาน เชน ความอุดมสมบูรณของดิน
                       ความเปนกรดเปนดาง ความชื้น กระจายอยูในอําเภอตาคลี อําเภอตากฟา และอําเภอพยุหะคีรี

                                (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนใหเขา
                       โครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกออยโรงงาน
                       มีตนทุนที่ต่ํา และใหผลตอบแทนที่ดีกวา แตทั้งนี้ตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย

                         2.3  มันสําปะหลัง
                              ในเขตพื้นที่ภาคเหนือ จังหวัดนครสวรรคมีพื้นที่เพาะปลูกมันสําปะหลังอยูในลําดับตน ๆ

                       รองจากจังหวัดกําแพงเพชร พันธุที่ใชเพาะปลูกจะเปนพันธุที่ทางราชการสงเสริมและเหมาะสมที่จะใช
                       ปลูกในเขตพื้นที่จังหวัด จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online วิเคราะหขอมูล
                       ไดดังนี้ (ตารางที่ 7 และภาพที่ 10 - 11)
                              1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกมันสําปะหลัง

                                ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 2,275,433 ไร คิดเปนรอยละ 5.00
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอไพศาลี 93,609 ไร อําเภอบรรพตพิสัย
                       55,080 ไร และอําเภอตากฟา 32,424 ไร
                                ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 1,265,683 ไร คิดเปนรอยละ

                       23.60 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอตาคลี 187,935 ไร อําเภอตากฟา
                       182,426 ไร และอําเภอแมวงก 161,250 ไร
                                ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 690,439 ไร คิดเปนรอยละ 12.88

                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอไพศาลี 137,575 ไร อําเภอพยุหะคีรี
                       105,948 ไร และอําเภอลาดยาว 100,982 ไร
                                ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 3,138,198 ไร
                              2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกมันสําปะหลังในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสมของดิน

                       ไดดังนี้
                                (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 41,076 ไร คิดเปนรอยละ 15.32 ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอแมวงก 16,385 ไร อําเภอไพศาลี 11,364 ไร และอําเภอบรรพตพิสัย 4,882 ไร
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29