Page 16 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสุโขทัย
P. 16

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                9








                             4) แนวทางการจัดการ
                               (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนใหเกษตรกร
                       ปลูกขาวตอไปเนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและไดผลผลิตที่มีคุณภาพดี

                       ซึ่งการปลูกขาวในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนําไปสูการตอยอดโครงการที่สําคัญตาง ๆ ได เชน เกษตร
                       อินทรีย เกษตรแปลงใหญ เกษตรแมนยํา เปนตน

                                 พื้นที่ปลูกขาวในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกขาวในที่ดินที่ไมมี
                       ขอจํากัดทางกายภาพตอการปลูกขาว ซึ่งควรสงวนไวเปนแหลงปลูกขาวที่สําคัญของจังหวัด

                       โดยกระจายอยูในอําเภอกงไกรลาศ อําเภอเมืองสุโขทัย และอําเภอศรีสัชนาลัย
                                 พื้นที่ปลูกขาวในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูกขาวในที่ดินที่มี

                       ขอจํากัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกขาว เชน ความอุดมสมบูรณของดิน ความเปนกรดเปนดาง
                       และแหลงน้ํา โดยกระจายอยูในอําเภอเมืองสุโขทัย อําเภอศรีสําโรง และอําเภอกงไกรลาศ
                               (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให

                       เขาโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน ทําการเกษตรผสมผสานหรือพืชที่ใหผลตอบแทนสูงกวา
                       โดยพิจารณาตลาดและแหลงรับซื้อรวมดวย

                           2.2  ออยโรงงาน

                                  ออยโรงงานพืชเศรษฐกิจหลักของสุโขทัยในลําดับที่ 2 จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก
                       หรือ Agri-Map Online สามารถวิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 5 และภาพที่ 8 - 9)

                                     1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกออยโรงงาน
                                       ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 114,973 ไร คิดเปนรอยละ 4.22
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอสวรรคโลก 49,663 ไร อําเภอคีรีมาศ

                       23,827 ไร และอําเภอศรีนคร 11,367 ไร
                                       ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ มีเนื้อที่ 747,027 ไร
                       คิดเปนรอยละ 27.39 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดินในจังหวัด กระจายอยูในอําเภอสวรรคโลก 174,263 ไร
                       อําเภอศรีสัชนาลัย 167,556 ไร และอําเภอบานดานลานหอย 136,874 ไร

                                       ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 228,449 ไร คิดเปนรอยละ
                       8.38 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอบานดานลานหอย 62,254 ไร
                       อําเภอศรีสัชนาลัย 61,459 ไร และอําเภอทุงเสลี่ยม 38,738 ไร
                                       ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 1,637,220 ไร


                                   2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกออยโรงงานในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสม
                       ของที่ดิน ไดดังนี้
                                     (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 71,958 ไร คิดเปนรอยละ 62.59 ของพื้นที่ศักยภาพ
                       สูง กระจายตัวมากอยูในอําเภอสวรรคโลก 34,180 ไร อําเภอคีรีมาศ 16,659 ไร และอําเภอศรี
                       นคร 8,125 ไร
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21