Page 12 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสุโขทัย
P. 12

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                5








                       ตารางที่ 2 พื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจที่มีพื้นที่ปลูกมาก 4 ลําดับแรกของจังหวัดสุโขทัย
                                พืชเศรษฐกิจ                  เนื้อที่ (ไร)     รอยละของพื้นที่เกษตรกรรม

                             1. ขาว                        1,310,055                     53.08
                             2. ออยโรงงาน                    516,898                     20.94
                             3. มันสําปะหลัง                  139,342                       5.65

                             4. ยางพารา                        22,318                       0.90
                       ที่มา: https://agri-map-online.moac.go.th, 2564

                         2.1  ขาว
                                ขาวเปนพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดสุโขทัย และมีโรงสีขนาดใหญรองรับโดยเฉพาะใน
                       อําเภอศรีสําโรง อําเภอเมืองสุโขทัย และอําเภอกงไกรลาศ ซึ่งเปนแหลงผลิตขาวที่มากที่สุดในจังหวัด

                       สุโขทัย ประกอบกับเกษตรกรมีความถนัดในการผลิตมาตั้งแตอดีต จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิง
                       รุก หรือ Agri-Map Online วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 3 และภาพที่ 6 - 7)

                               1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกขาว
                                   ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 658,517 ไร คิดเปนรอยละ 24.15

                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอกงไกรลาศ 151,773 ไร อําเภอเมือง
                       สุโขทัย 104,711 ไร และอําเภอศรีสัชนาลัย 88,562 ไร
                                   ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 759,055 ไร คิดเปนรอยละ
                       27.83 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองสุโขทัย 172,591 อําเภอศรีสําโรง
                       154,110 ไร และอําเภอกงไกรลาศ 110,415 ไร

                                   ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 185,912 ไร คิดเปนรอยละ
                       6.82 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอบานดานลานหอย 118,053 ไร
                       อําเภอศรีสําโรง 29,259 ไร และอําเภอทุงเสลี่ยม 19,664 ไร

                                   ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 1,123,535 ไร

                               2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน ไดดังนี้
                                  (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 399,360  ไร คิดเปนรอยละ 60.65 ของพื้นที่ศักยภาพ
                       สูง กระจายตัวมากอยูในอําเภอกงไกรลาศ 123,588 ไร อําเภอเมืองสุโขทัย 67,282 ไร และอําเภอ
                       ศรีสัชนาลัย 64,754 ไร

                                  (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 716,349 ไร คิดเปนรอยละ 94.37 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองสุโขทัย 171,481 ไร อําเภอศรีสําโรง 150,638
                       ไร และอําเภอกงไกรลาศ 110,415 ไร
                                  (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 185,911 ไร คิดเปนรอยละ 100.00 ของพื้นที่

                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอบานดานลานหอย 118,053 ไร อําเภอศรีสําโรง 29,259 ไร
                       และอําเภอทุงเสลี่ยม 19,664 ไร
                                  (4)  พื้นที่ไมเหมาะสม (N) ในการปลูกขาว มีเนื้อที่ 8,434 ไร
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17