Page 41 - ผลของปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพต่อการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดินทรายจัดต่อการผลิตข้าวโพดหวานในจังหวัดสงขลา Effect of bio-organic fertilizers on change for soil properties in sandy soils to increase sweet corn yield at Songkhla province.
P. 41
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
35
ตารางที่ 7 ขนาดความยาวฝักทั้งเปลือกของข้าวโพดหวานเฉลี่ยปีที่ 1,2 และเฉลี่ย 2 ปี
ความยาวฝักทั้งเปลือก (เซนติเมตร)
วิธีการทดลอง
เฉลี่ยปีที่ 1 เฉลี่ยปีที่ 2 เฉลี่ย 2 ปี
b
T1 26.083 31.167 28.625
a
T2 28.033 31.167 29.600
b
T3 25.250 30.833 28.041
T4 26.300 31.133 28.716
ab
b
T5 25.350 31.000 28.175
T6 24.983 31.667 28.325
b
b
T7 24.830 31.067 27.948
b
T8 25.660 29.867 27.763
F-test ** ns -
Mean 25.813 30.989 -
CV(%) 3.851 5.370 -
หมายเหตุ : ns ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ
** มีความแตกต่างอย่างมีนัยส าคัญยิ่งทางสถิติ
ค่าเฉลี่ยที่ก ากับด้วยตัวอักษรที่ต่างกันในคอลัมน์เดียวกันมีความแตกต่างกันทางสถิติ
1/
2.2 ความยาวฝักปอกเปลือก จากการทดลองในปีที่ 1 พบว่า ความยาวฝักปอกเปลือกในทุก
ต ารับการทดลองมีค่าไม่แตกต่างกันทางสถิติ กล่าวคือ ต ารับที่ 8 ที่มีการใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา 100
กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับสับกลบตอซังข้าวโพดหวาน และน ้าหมักชีวภาพ พด.2 มีขนาดความยาวฝักปอกเปลือกสูง
ที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 18.22 เซนติเมตร รองลงมาได้แก่ ต ารับที่ 4 ที่มีการใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา 100
กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับสับกลบตอซังข้าวโพดหวาน, ต ารับที่ 1 ที่มีการใส่ปุ๋ยคอก อัตรา 4,000 กิโลกรัมต่อไร่
ร่วมกับน ้าหมักชีวภาพ พด.2 และต ารับที่ 2 ที่มีการใส่ปุ๋ยหมัก พด.1 อัตรา 4,000 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับน ้าหมัก
ชีวภาพ พด.2 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 18.13,18.13 และ 18.08 เซนติเมตร ตามล าดับ ส่วนต ารับที่ 5 ที่มีการใส่ปุ๋ย
คอก อัตรา 4,000 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับพืชปุ๋ยสด (ปอเทือง) และน ้าหมักชีวภาพ พด.2 มีขนาดความยาวฝัก
ปอกเปลือกน้อยที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 17.36 เซนติเมตร ส าหรับการทดลองในปีที่ 2 ความยาวฝักปอกเปลือก
ในทุกต ารับการทดลองมีค่าไม่แตกต่างกันทางสถิติ แต่ความยาวฝักปอกเปลือกในทุกต ารับมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น
จากการทดลองในปีที่ 1 กล่าวคือ ต ารับที่ 3 ที่มีการใส่ปุ๋ยชีวภาพ พด.12 อัตรา 300 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับสับ
กลบตอซังข้าวโพดหวาน มีขนาดความยาวฝักปอกเปลือกสูงที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 19.90 เซนติเมตร รองลงมา
ได้แก่ ต ารับที่ 5 มีการใส่ปุ๋ยคอก อัตรา 4,000 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับพืชปุ๋ยสด (ปอเทือง) และน ้าหมักชีวภาพ
พด.2, ต ารับที่ 1 ที่มีการใส่ปุ๋ยคอก อัตรา 4,000 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับน ้าหมักชีวภาพ พด.2 และต ารับที่ 2 ที่มี
การใส่ปุ๋ยหมัก พด.1 อัตรา 4,000 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับน ้าหมักชีวภาพ พด.2 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 19.20,18.96