Page 42 - ผลของปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพต่อการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดินทรายจัดต่อการผลิตข้าวโพดหวานในจังหวัดสงขลา Effect of bio-organic fertilizers on change for soil properties in sandy soils to increase sweet corn yield at Songkhla province.
P. 42

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                   36




                     และ 18.70 เซนติเมตร ตามล าดับ ส่วนต ารับที่ 8 ที่มีการใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่
                     ร่วมกับสับกลบตอซังข้าวโพดหวาน  และน ้าหมักชีวภาพ  พด.2  มีขนาดความยาวฝักปอกเปลือกน้อยที่สุด  มี

                     ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 18.20 เซนติเมตร ( ตารางที่ 8 )

                     ตารางที่ 8 ขนาดความยาวฝักปอกเปลือกของข้าวโพดหวานเฉลี่ยปีที่ 1,2 และเฉลี่ย 2 ปี


                                                             ความยาวฝักปอกเปลือก (เซนติเมตร)
                          วิธีการทดลอง
                                                  เฉลี่ยปีที่  1          เฉลี่ยปีที่  2         เฉลี่ย 2 ปี

                               T1                   18.13                   18.96                 18.55

                               T2                   18.08                   18.70                 18.39
                               T3                   18.05                   19.90                 18.98

                               T4                   18.13                   18.53                 18.33

                               T5                   17.37                   19.20                 18.29
                               T6                   17.85                   18.63                 18.24

                               T7                   17.55                   18.26                 17.91

                               T8                   18.22                   18.20                 18.21
                             F-test                   ns                      ns                     -

                             Mean                   17.92                   18.80                    -

                             CV(%)                   3.09                    4.99                    -

                     หมายเหตุ  :  ns  ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ

                                   2.3 ขนาดเส้นรอบวงฝักข้าวโพดหวาน จากการทดลองในปีที่ 1 พบว่า ขนาดเส้นรอบวง
                     ของข้าวโพดหวานในทุกต ารับการทดลองมีค่าไม่แตกต่างกันทางสถิติ กล่าวคือ ขนาดเส้นรอบวงของข้าวโพด

                     หวาน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 16.40 เซนติเมตร และในต ารับที่ 8 ที่มีการใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา 100

                     กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับสับกลบตอซังข้าวโพดหวาน และน ้าหมักชีวภาพ พด.2 มีขนาดเส้นรอบวงของข้าวโพดสูง
                     ที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 16.88 เซนติเมตร รองลงมาได้แก่ ต ารับที่ 2 ที่มีการใส่ปุ๋ยหมัก พด.1 อัตรา 4,000

                     กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับน ้าหมักชีวภาพ พด.2, ต ารับที่ 3 ที่มีการใส่ปุ๋ยชีวภาพ พด.12 อัตรา 300 กิโลกรัมต่อไร่
                     ร่วมกับสับกลบตอซังข้าวโพดหวาน และต ารับที่ 1 ที่มีการใส่ปุ๋ยคอก อัตรา 4,000 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับน ้า

                     หมักชีวภาพ พด.2 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 16.65, 16.46 และ 16.46 เซนติเมตร ตามล าดับ ส่วนต ารับที่ 7 ที่มีการใส่

                     ปุ๋ยชีวภาพ พด.12 อัตรา 300 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับสับกลบตอซังข้าวโพดหวาน และน ้าหมักชีวภาพ พด.2 มี
                     ขนาดเส้นรอบวงฝักน้อยสุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 15.99 เซนติเมตร ส าหรับการทดลองในปีที่ 2 ขนาดเส้นรอบวง

                     ฝักในทุกต ารับการทดลองมีค่าแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญยิ่งทางสถิติ และขนาดเส้นรอบวงฝักในทุกต ารับมี

                     แนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นจากการทดลองในปีที่ 1 กล่าวคือ มีขนาดเส้นรอบวงฝัก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 17.18 เซนติเมตร
                     และต ารับที่ 6 ที่มีการใส่ปุ๋ยหมัก พด.1 อัตรา 4,000 กิโลกรัมต่อไร่ร่วมกับพืชปุ๋ยสด (ปอเทือง) และน ้าหมัก

                     ชีวภาพ พด.2 มีขนาดเส้นรอบวงฝักสูงที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 17.72 เซนติเมตร รองลงมาได้แก่ ต ารับที่ 5  ที่มี
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47