Page 40 - ผลของปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพต่อการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดินทรายจัดต่อการผลิตข้าวโพดหวานในจังหวัดสงขลา Effect of bio-organic fertilizers on change for soil properties in sandy soils to increase sweet corn yield at Songkhla province.
P. 40

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                 34




                             2. ปริมาณและคุณภาพผลผลิตของข้าวโพดหวาน

                                   จากการด าเนินการศึกษาผลของปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพต่อการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดินทรายจัด
                     ต่อการผลิตข้าวโพดหวานในจังหวัดสงขลาในช่วงปีที่ 1 และปีที่ 2 ผลการศึกษาดังนี้

                                   2.1  ความยาวฝักทั้งเปลือก    จากการทดลองในปีที่  1  พบว่า  ความยาวฝักทั้งเปลือกในทุก

                     ต ารับการทดลองมีค่าแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญยิ่งทางสถิติ กล่าวคือ ต ารับที่ 2 ที่มีการใส่ปุ๋ยหมัก พด.1 อัตรา
                     4,000  กิโลกรัมต่อไร่  ร่วมกับน ้าหมักชีวภาพ  พด.2  มีขนาดความยาวฝักสูงสุด  มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ  28.033

                     เซนติเมตร รองลงมาได้แก่  ต ารับที่ 4 ที่มีการใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับสับกลบ

                     ตอซังข้าวโพดหวาน, ต ารับที่ 1 ที่มีการใส่ปุ๋ยคอก อัตรา 4,000 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับน ้าหมักชีวภาพ พด.2 และ
                     ต ารับที่ 8  ที่มีการใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับสับกลบตอซังข้าวโพดหวาน และ

                     น ้าหมักชีวภาพ พด.2 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 26.30,26.08 และ 25.66 เซนติเมตร ตามล าดับ ส่วนต ารับที่ 7 ที่มีการ

                     ใส่ปุ๋ยชีวภาพ พด.12 อัตรา 300 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับสับกลบตอซังข้าวโพดหวาน และน ้าหมักชีวภาพ พด.2 มี
                     ขนาดความยาวฝักทั้งเปลือกน้อยสุด  มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ  24.83  เซนติเมตร  ส าหรับการทดลองในปีที่  2  พบว่า

                     ความยาวฝักทั้งเปลือกในทุกต ารับการทดลองมีค่าไม่แตกต่างกันทางสถิติ  แต่ความยาวฝักทั้งเปลือกในทุกต ารับ

                     มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นจากการทดลองในปีที่ 1 โดยต ารับที่ 6 ที่มีการใส่ปุ๋ยหมัก พด.1 อัตรา 4,000 กิโลกรัมต่อไร่
                     ร่วมกับพืชปุ๋ยสด (ปอเทือง) และน ้าหมักชีวภาพ พด.2 มีขนาดความยาวฝักทั้งเปลือกสูงที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ

                     31.66 เซนติเมตร รองลงมาได้แก่ ต ารับที่ 2 ที่มีการใส่ปุ๋ยหมัก พด.1 อัตรา 4,000 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับน ้าหมัก

                     ชีวภาพ พด.2, ต ารับที่ 1 ที่มีการใส่ปุ๋ยคอก อัตรา 4,000 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับน ้าหมักชีวภาพ พด.2 และต ารับ
                     ที่ 4 ที่มีการใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับสับกลบตอซังข้าวโพดหวาน มีค่าเฉลี่ย

                     เท่ากับ 31.167 ,31.167 และ 31.133 เซนติเมตร ตามล าดับ ส่วนต ารับที่ 8  ที่มีการใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง

                     อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับสับกลบตอซังข้าวโพดหวาน และน ้าหมักชีวภาพ พด.2 มีขนาดความยาวฝักทั้ง
                     เปลือกน้อยที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 29.86 เซนติเมตร (ตารางที่ 7)
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45