Page 36 - ผลของปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพต่อการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดินทรายจัดต่อการผลิตข้าวโพดหวานในจังหวัดสงขลา Effect of bio-organic fertilizers on change for soil properties in sandy soils to increase sweet corn yield at Songkhla province.
P. 36

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                 31



                                   1.4 ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ต่อพืช (Avail.K)
                                          จากการผลการวิเคราะห์ดินก่อนการทดลอง  พบว่า  ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็น

                     ประโยชน์ต่อพืชอยู่ในระดับต ่ามาก มีค่าเท่ากับ 12.40 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม โดยหลังการทดลองปีที่ 1 ปริมาณ

                     โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ทุกต ารับมีค่าแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญยิ่งทางสถิติ  ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็น
                     ประโยชน์เพิ่มขึ้นทุกต ารับการทดลอง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 34.54 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม กล่าวคือ ต ารับที่ 1 ที่มีการ

                     ใส่ปุ๋ยคอก  อัตรา  4,000  กิโลกรัมต่อไร่  ร่วมกับน ้าหมักชีวภาพ  พด.2  มีปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์

                     สูงที่สุด  มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ  54.33  มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม  รองลงมาได้แก่    ต ารับที่  6   ที่มีการใส่ปุ๋ยหมัก  พด.1
                     อัตรา 4,000 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับพืชปุ๋ยสด (ปอเทือง) และน ้าหมักชีวภาพ พด.2, ต ารับที่ 5 ที่มีการใส่ปุ๋ยคอก

                     อัตรา 4,000 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับพืชปุ๋ยสด (ปอเทือง) และน ้าหมักชีวภาพ พด.2 และต ารับที่ 8  ที่มีการใส่ปุ๋ย

                     อินทรีย์คุณภาพสูง  อัตรา  100  กิโลกรัมต่อไร่  ร่วมกับสับกลบตอซังข้าวโพดหวาน  และน ้าหมักชีวภาพ  พด.2
                     มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 48.00,37.00 และ 31.00 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามล าดับ ส่วนในต ารับที่ 3  ที่มีการใส่ปุ๋ย

                     ชีวภาพ  พด.12  อัตรา  300  กิโลกรัมต่อไร่  ร่วมกับสับกลบตอซังข้าวโพดหวาน  มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็น

                     ประโยชน์น้อยที่สุด  มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ  24.00  มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม  ส าหรับการทดลองในปีที่  2  ปริมาณ
                     โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ทุกต ารับมีค่าไม่แตกต่างกันทางสถิติ  และปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์มี

                     แนวโน้มลดลงในทุกต ารับการทดลอง กล่าวคือต ารับที่ 5 ที่มีการใส่ปุ๋ยคอก อัตรา 4,000 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับ

                     พืชปุ๋ยสด (ปอเทือง)  และน ้าหมักชีวภาพ พด.2 มีปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์สูงที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
                     22.33 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม รองลงมาได้แก่  ต ารับที่ 8  ที่มีการใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา 100 กิโลกรัมต่อ

                     ไร่ ร่วมกับสับกลบตอซังข้าวโพดหวาน และน ้าหมักชีวภาพ พด.2, ต ารับที่ 6 ที่มีการใส่ปุ๋ยหมัก พด.1 อัตรา

                     4,000 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับพืชปุ๋ยสด (ปอเทือง) และน ้าหมักชีวภาพ พด.2 และต ารับที่ 1 ที่มีการใส่ปุ๋ยคอก
                     อัตรา 4,000 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับน ้าหมักชีวภาพ พด.2 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 17.33,16.67 และ 15.00 มิลลิกรัม

                     ต่อกิโลกรัม ตามล าดับ ส่วนในต ารับที่ 3 ที่มีการใส่ปุ๋ยชีวภาพ พด.12 อัตรา 300 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับสับกลบ

                     ตอซังข้าวโพดหวาน  มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์น้อยที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 9.67 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม
                     (ภาพที่ 5 และตารางที่ 6)
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41