Page 46 - ผลของปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพต่อการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดินทรายจัดต่อการผลิตข้าวโพดหวานในจังหวัดสงขลา Effect of bio-organic fertilizers on change for soil properties in sandy soils to increase sweet corn yield at Songkhla province.
P. 46
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
40
ผลผลิตน ้าหนักฝักทั้งเปลือกต่อไร่ (กิโลกรัม/ไร่)
3,000.00
2,500.00
2,000.00
1,500.00
1,000.00
500.00
0.00
1 2 3 4 5 6 7 8
ผลผลิตน ้าหนักฝักปีที่ 1 ผลผลิตน ้าหนักฝักปีที่ 2
ภาพที่ 6 แสดงผลผลิตน ้าหนักฝักทั้งเปลือกต่อไร่ของข้าวโพดหวานปีที่ 1 และปีที่ 2
2.6 น ้าหนักฝักปอกเปลือกต่อไร่ของข้าวโพดหวาน จากการทดลองในปีที่ 1 พบว่า ผลผลิต
น ้าหนักฝักปอกเปลือกต่อไร่ของข้าวโพดหวาน ในทุกต ารับการทดลองมีค่าไม่แตกต่างกันทางสถิติ กล่าวคือ
ผลผลิตน ้าหนักฝักปอกเปลือกต่อไร่ ในปีที่ 1 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1,166.16 กิโลกรัมต่อไร่ และต ารับที่ 1 ที่มีการ
ใส่ปุ๋ยคอก อัตรา 4,000 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับน ้าหมักชีวภาพ พด.2 ให้ผลผลิตน ้าหนักฝักปอกเปลือกต่อไร่สูง
ที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1,314.61 กิโลกรัมต่อไร่ รองลงมาได้แก่ ต ารับที่ 4 ที่มีการใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา
100 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับสับกลบตอซังข้าวโพดหวาน, ต ารับที่ 8 ที่มีการใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา 100
กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับสับกลบตอซังข้าวโพดหวาน และต ารับที่ 2 ที่มีการใส่ปุ๋ยหมัก พด.1 อัตรา 4,000 กิโลกรัม
ต่อไร่ ร่วมกับน ้าหมักชีวภาพ พด.2 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1,219.14, 1,215.33 และ 1,212.82 กิโลกรัมต่อไร่
ตามล าดับ ส่วนต ารับที่ 7 ที่มีการใส่ปุ๋ยชีวภาพ พด.12 อัตรา 300 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับสับกลบตอซังข้าวโพด
หวาน และน ้าหมักชีวภาพ พด.2 ให้ผลผลิตน ้าหนักฝักทั้งเปลือกต่อไร่ของข้าวโพดหวานน้อยที่สุด มีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 1,007.75 กิโลกรัมต่อไร่ ส าหรับการทดลองในปีที่ 2 ผลผลิตน ้าหนักฝักปอกเปลือกต่อไร่ของข้าวโพด
หวาน ในทุกต ารับการทดลองมีค่าแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญยิ่งทางสถิติ และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในทุกต ารับการ
ทดลองจากการทดลองปีที่ 1 กล่าวคือ ผลผลิตน ้าหนักฝักปอกเปลือกต่อไร่ของข้าวโพดหวาน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
1,646.81 กิโลกรัมต่อไร่ และต ารับที่ 6 ที่มีการใส่ปุ๋ยหมัก พด.1 อัตรา 4,000 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับพืชปุ๋ยสด
(ปอเทือง) และน ้าหมักชีวภาพ พด.2 ให้ผลผลิตน ้าหนักฝักปอกเปลือกต่อไร่ของข้าวโพดหวานสูงที่สุด มีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 1,995.85 กิโลกรัมต่อไร่ รองลงมาได้แก่ ต ารับที่ 5 มีการใส่ปุ๋ยคอก อัตรา 4,000 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับ
พืชปุ๋ยสด (ปอเทือง) และน ้าหมักชีวภาพ พด.2,ต ารับที่ 2 ที่มีการใส่ปุ๋ยหมัก พด.1 อัตรา 4,000 กิโลกรัมต่อไร่
ร่วมกับน ้าหมักชีวภาพ พด.2 และต ารับที่ 1 ที่มีการใส่ปุ๋ยคอก อัตรา 4,000 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับน ้าหมัก
ชีวภาพ พด.2 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1,853.63, 1,810.96 และ 1,768.29 กิโลกรัมต่อไร่ ตามล าดับ ส่วนต ารับที่ 3 ที่