Page 18 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในดินร่วนปนทราย จังหวัดร้อยเอ็ด Study efficiency of Bio- fertilizer to increase growth and rice (Khao Dok Mali 105) yield and sandy loam soil, Roi Et Province.
P. 18

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน



                   การทดลอง อยู่ในเกณฑ์ต่ ามากถึงปานกลาง (ตารางที่ 6) ทั้งนี้อาจเป็นเพราะดินหลังการทดลองมีค่า pH  เป็นกรด
                   ปานกลาง กรดเล็กน้อย และเป็นกลาง ซึ่ง pH ของดิน มีผลโดยตรงต่อระดับธาตุอาหารที่พืชจะน าไปใช้ประโยชน์ได้

                   โดยเฉพาะอย่างยิ่งธาตุแคลเซียม แมกนีเซียม โพแทสเซียม ฟอสฟอรัส และจุลธาตุอาหาร เช่น เหล็ก แมงกานีส
                   สังกะสี ทองแดง และโบรอน (คณาจารย์ภาควิชาปฐพีวิทยา, 2544)  ซึ่งสอดคล้องกับการทดลองของ ถาวร (2541)
                   พบว่า ปริมาณแคลเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ลดลงและมีความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงกับ pH  ของดิน นอกจากนี้พบว่า
                   แคลเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินหลังการทดลอง ปีที่ 3  (ปี 2563) มีค่าแตกต่างกันทางสถิติ โดยต ารับที่ใช้ปุ๋ยชีวภาพ
                   รูปแบบน้ า (ต ารับที่ 3) มีแคลเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินสูงสุด เท่ากับ 458 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม (ตารางที่ 6) อาจ
                   เป็นเพราะต ารับดังกล่าวนี้มีค่า pH ของดินเป็นกรดเล็กน้อย  ดินจะมีปริมาณแคลเซียมอย่างเพียงพอ เมื่อดินมีค่า pH
                   อยู่ระหว่าง 5.5-8.5 (คณาจารย์ภาควิชาปฐพีวิทยา, 2544) ซึ่งระดับ pH ของดินในช่วงนี้ ช่วยส่งเสริมให้แคลเซียมอยู่
                   ในรูปของสารละลายที่พืชน าไปใช้ได้ง่าย จึงมีผลให้ปริมาณแคลเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินหลังการทดลองมีค่ามาก
                   ที่สุด

                   ตารางที่ 6 ปริมาณแคลเซียมที่เป็นประโยชน์ในดิน ปี 2561-2563

                                                                                                       -1
                                                             ปริมาณแคลเซียมที่เป็นประโยชน์ในดิน (Ca : mg.kg )

                             ต ารับการทดลอง                        ปี 2561            ปี 2562      ปี 2563
                                                               ก่อน              หลัง   หลัง        หลัง

                    T1 ควบคุม                                141           530          532          333 b
                    T2 ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน            151           545          608          305 b
                    T3 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ า                  154           414          516          458 a
                    T4 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ า + ปุ๋ยเคมี 50 %   136          967          456          355 ab
                    T5 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ า + ปุ๋ยเคมี 70 %   168          779          445          322 b
                    T6 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผง                    155          1,042         506          282 b
                    T7 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผง + ปุ๋ยเคมี 50 %    166           461          608          349 b

                    T8 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผง + ปุ๋ยเคมี 70 %    144           706          503          283 b
                                   F-test                     ns           ns           ns           *
                                  C.V. (%)                   13.83        45.26        25.24       17.40
                   หมายเหตุ  :  ns หมายถึง ค่าเฉลี่ยไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ และ * หมายถึง ค่าเฉลี่ยมีความแตกต่างกันทาง
                   สถิติอย่างมีนัยส าคัญ ตัวอักษรที่แตกต่างกันในแต่ละคอลัมน์ แสดงความแตกต่างทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
                   โดยวิธี DMRT

                         1.7  ปริมาณแมกนีเซียมที่เป็นประโยชน์ในดิน (Available  Mg) ปี 2561-2563  มีค่าไม่แตกต่างกันทางสถิติ
                   โดยปริมาณแมกนีเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินทั้งก่อนและหลังการทดลองมีค่าต่ ามากถึงต่ า กล่าวคือ ดินก่อนการ
                   ทดลองมีปริมาณแมกนีเซียมอยู่ในเกณฑ์ต่ ามาก เช่นเดียวกับดินหลังการทดลองที่มีปริมาณแมกนีเซียมอยู่ในเกณฑ์ต่ า

                   มากถึงต่ า (ตารางที่ 7) ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ pH ของดินมีค่าไม่แตกต่างกัน โดยดินก่อนการทดลองมีค่า pH เป็นกรด
                   จัดถึงกรดแก่ (pH 5.00-5.23) และดินหลังการทดลองมีค่า pH สูงขึ้น (ระหว่าง 5.83-6.70) อยู่ในเกณฑ์เป็นกรดปาน
                   กลาง/กรดเล็กน้อยถึงเป็นกลาง ความเป็นกรดเป็นด่างของดิน มีผลโดยตรงต่อระดับธาตุอาหารที่พืชจะน าไปใช้
                   ประโยชน์ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งธาตุแมกนีเซียม แคลเซียม โพแทสเซียม ฟอสฟอรัส และจุลธาตุอาหาร เช่น เหล็ก
                   แมงกานีส สังกะสี ทองแดง และโบรอน ดินจะมีปริมาณแมกนีเซียมอย่างเพียงพอ เมื่อดินมีค่า pH  อยู่ในระหว่าง
                   5.5-8.5 (คณาจารย์ภาควิชาปฐพีวิทยา, 2544)
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23