Page 7 - การจัดทำค่ามาตรฐานธาตุอาหารพืชในชาน้ำมันเพื่อใช้เป็นค่าวินิจฉัยสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ย Preparation of Standard Plant Nutrients in Camellia oleifera Able. for Use as Diagnostic for Fertilizer Recommendations.
P. 7
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
(6)
สารบัญภาพ
ภาพที่ หน้า
1 ลักษณะของต้นชาน ้ามัน 3
2 แนวคิดการตอบสนองของพืชต่อระดับธาตุอาหารตามทฤษฎีถังไม้โอ๊ค ซึ่งแสดงให้เห็นว่าผลผลิต 5
พืชจะถูกจ้ากัดโดยระดับธาตุอาหารที่พืชขาดแคลนสูงสุด จากตัวอย่างโพแทสเซียมเป็นธาตุที่
จ้ากัดผลผลิต
3 แบบจ้าลองการตอบสนองต่อธาตุอาหารของ Mitscherlich เมื่อสมมติให้ผลผลิตสูงสุดเท่ากับ 6
100 หน่วย และปริมาณธาตุอาหารที่ท้าให้พืชได้ผลผลิตสูงสุดเท่ากับ 15 หน่วย
4 แบบจ้าลองสมดุลมวลของธาตุอาหารพืชระหว่างแหล่งที่มาของธาตุอาหารในดิน (ลูกศรสีเขียว) 8
กับแหล่งที่ท้าให้ธาตุอาหารสูญเสียออกจากพื นที่ (ลูกศรสีด้า) ส้าหรับใช้จัดการไนโตรเจน
ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ในต้นมะกอก
5 การใช้วิธีเส้นขอบเขตก้าหนดระดับแคลเซียมที่เหมาะสมในต้นกระบองเพชร 11
6 การใช้สมการพหุนามก้าลังสองก้าหนดระดับก้ามะถันที่เหมาะสมในใบยางพาราระยะก่อนเปิดกรีด 12
7 การใช้สมการพหุนามก้าลังสองร่วมกับวิธีเส้นขอบเขตก้าหนดระดับไนโตรเจนที่เหมาะสมในใบยางพารา 13
8 สถานะของพีเอช (a) อินทรียวัตถุ (b) ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ และก้ามะถันที่สกัดได้ (c) 21
โพแทสเซียม แคลเซียม และแมกนีเซียมที่สกัดได้ (d) ทองแดง แมงกานีส และสังกะสีที่สกัดได้
(e) ในดินบริเวณพื นที่ศึกษา
9 ความสัมพันธ์ระหว่างสัดส่วน แมงกานีส/โพแทสเซียม & โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ (a) 22
แมงกานีส/แคลเซียม & แคลเซียมที่สกัดได้ (b) แมงกานีส/แมกนีเซียม & แมกนีเซียมที่สกัดได้
(c) แมงกานีส/ทองแดง & ทองแดงที่สกัดได้ (d) และ แมงกานีส/สังกะสี & สังกะสีที่สกัดได้ (e)
ในดินบริเวณพื นที่ศึกษา