Page 9 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 9

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                         3



                                                       การตรวจเอกสาร

                          พื้นที่สูงในประเทศไทยครอบคลุมเนื้อที่ 67.22 ลานไร คิดเปนรอยละ 53 ของพื้นที่สูงใน 20 จังหวัด
                   ไดแก เชียงใหม เชียงราย แมฮองสอน พะเยา ลําพูน แพร นาน ลาปาง ตาก เพชรบูรณ พิษณุโลก เลย สุโขทัย

                   กําแพงเพชร กาญจนบุรี อุทัยธานี สุพรรณบุรี ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ และเพชรบุรี ซึ่งพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง
                   สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องคการมหาชน) พ.ศ. 2548 ใหความหมายของพื้นที่สูงไววา “พื้นที่ที่เปนภูเขา
                   หรือพื้นที่ที่มีความสูงกวาระดับน้ําทะเลหารอยเมตรขึ้นไป หรือพื้นที่ที่อยูระหวางพื้นที่สูงตามที่คณะกรรมการ
                   กําหนด”(สวพส., 2550) หรือเปนบริเวณพื้นที่ซึ่งมีความลาดชันโดยเฉลี่ยมากกวารอยละ 35 ซึ่งพื้นที่ตั้งชุมชนบน
                   พื้นที่สูงสวนใหญอยูในพื้นที่ปาตนน้ําลําธาร เขตอุทยานแหงชาติ และเขตปาสงวน ทําใหหนวยงานของรัฐเขาไป
                   ดาเนินงานไดไมทั่วถึง นอกจากนี้พื้นที่สูงยังคงมีปญหาการทําไรเลื่อนลอย และการบุกรุกทําลายปาอยางตอเนื่อง
                   ซึ่งพื้นที่ลาดชันเชิงซอนที่มีความลาดชันมากกวา 35 เปอรเซ็นต จัดเปนพื้นที่ที่ยังไมมีการศึกษา สํารวจ และ

                   จําแนกดิน โดยกรมพัฒนาที่ดิน จึงจัดไวใหอยูในกลุมชุดดินที่ 62 หรือที่เรียกวา พื้นที่ลาดชันเชิงซอน (SC : slope
                   complex) เพราะเปนสภาพพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง ซึ่งถือวายากตอการจัดการดูแลรักษาสาหรับการเกษตร และ
                   มักประสบปญหาของการชะลางพังทลายอยางรุนแรงนั้น จึงสงผลให ดินขาดความอุดมสมบูรณ และเมื่อไมไดรับ
                   การจัดการดินและที่ดินอยางสม่ําเสมอ จะทําใหเกิดความเสื่อมโทรมของที่ดินตามมา
                          เพราะฉะนั้น การจัดการดินและที่ดินในพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง จึงควรตองดําเนินการตามลําดับ
                   ขั้นตอน ประกอบดวย
                          1) การศึกษาสภาพภูมิสังคม สภาพภูมิประเทศและสภาพภูมิอากาศในพื้นที่ศึกษาวิจัย
                          2) การประเมินคุณภาพของดินในพื้นที่ลาดชันที่เสี่ยงตอการชะลางพังทลายของดิน
                          3) การประเมินการสูญเสียหนาดิน เนื่องมาจากการชะลางพังทลายของดิน
                          4) การประมวลผลขอมูลขางตน เพื่อประกอบการตัดสินใจจัดทําระบบอนุรักษดินและน้ํา

                          5) การเปรียบเทียบมาตรการจัดการที่ดินที่เหมาะสมในพื้นที่บริเวณนั้น เพื่อสรางความตระหนักและการ
                   ยอมรับของเกษตรกรในพื้นที่นั้น ๆ

                   1. การศึกษาสภาพภูมิสังคม สภาพภูมิประเทศ และสภาพภูมิอากาศในพื้นที่ศึกษาวิจัย
                   1.1 สภาพภูมิสังคมของพื้นที่ศึกษา
                          โครงการวิจัยนี้ ไดทําการศึกษา วิจัย ในพื้นที่ หมูที่ 1 ชุมชนบานทาดินแดง และชุมชนบานวังขยาย
                   ตั้งอยูที่ตําบลปรังเผล อําเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ประชากรที่อาศัยอยูในพื้นที่ตําบลปรังเผลทั้งหมด เปน
                   กลุมชาติพันธุกะเหรี่ยง มอญ พมา และสัญชาติไทย มีจํานวนทั้งสิ้น 1,751 ครัวเรือน รวมประชากรทั้งหมด
                   5,307 ราย ประกอบดวย เพศชาย 2,735 ราย และเพศหญิง 2,572 (,2553) ราย การนับถือศาสนาในพื้นที่

                   ประกอบดวย ศาสนาพุทธ และนับถือผีหรือมีความเชื่อทางธรรมชาติบางสวน สถานภาพดานการศึกษาของตําบล
                   ปรังเผล มีสถานศึกษาตั้งแตระดับอนุบาลถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสําหรับใหบริการดานการศึกษาแก
                   เยาวชนและประชาชนทั่วไป สถานภาพดานสาธารณสุขของตําบลปรังเผล มีโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล
                   ปรังเผล จํานวน 1 แหง โดยผูเขารับการรักษาสวนใหญจะเปนการเจ็บปวยดวยโรคมาลาเรีย และเนื่องจากใน
                   ปจจุบันที่มีการอพยพยายถิ่นฐาน ประชากรสวนใหญในพื้นที่จึงเปนชาวกระเหรี่ยง มอญ พมา และสัญชาติไทย
                   โดยสวนใหญมีอาชีพหาของปา และเกษตรกรรม เปนตน
                          จากขอมูลสํามะโนการเกษตร พ.ศ. 2556 จังหวัดกาญจนบุรี (สํานักงานสถิติแหงชาติ. 2557) รายงานวา
                   อําเภอสังขละบุรี มีผูถือครองที่ดินเพื่อการเกษตรทั้งสิ้น 1,685 ราย คิดเปนรอยละ 2.5 ของผูถือครองที่ดินทั้ง
                   จังหวัดกาญจนบุรี พื้นที่เกษตรกรรมในอําเภอสังขละบุรี มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 22,019 ไร (รอยละ 1.3) โดยมีเนื้อที่ถือ

                   ครองเฉลี่ย 13.1 ไร และการจางงานภาคการเกษตร ประกอบดวย ลูกจางชาวไทย คิดเปนรอยละ 76.1 และ
                   ลูกจางตางดาว คิดเปนรอยละ 23.9 เปนตน ลักษณะการทําการเกษตรของเกษตรกรในพื้นที่อําเภอสังขละบุรีโดย
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14