Page 10 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 10

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                         4


                   สวนใหญ คือ การเพาะปลูกพืช (รอยละ 89.7) ประกอบดวย ยางพารา จํานวน 11,455 ไร ขาว จํานวน 3,611
                   ไร ไมยืนตนหรือไมผล จํานวน 2,188 ไร พืชไร จํานวน 3,814 ไร และพืชผักสมุนไพร จํานวน 201 ไร เปนตน


                   1.2 สภาพภูมิประเทศของพื้นที่ศึกษา
                          สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเปนพื้นที่ลาดเอียงริมเขา มีพื้นที่ราบลุมเปนบางสวนอยูระหวางหุบเขา พื้นที่
                   ทั้งหมด 712 ตารางกิโลเมตร เปนแหลงน้ํา 1 ใน 3 ของพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งแหลงน้ําที่สําคัญ คือ เขื่อนวชิราลงกรณ
                   และแมน้ําแควนอย โดยทรัพยากรน้ําในพื้นที่โครงการวิจัยนี้ ไดถูกกําหนดไวเปนพื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 3 หมายถึง
                   พื้นที่ภายในลุมน้ําซึ่งมีคาดัชนีชั้นคุณภาพลุมน้ําที่คํานวณไดจากสมการอยูระหวาง 2.21 ถึง 3.20 และพื้นที่
                   โดยทั่วไปสามารถใชประโยชนไดทั้งกิจการทําไม เหมืองแร และปลูกพืชกสิกรรมประเภทไมยืนตน เปนตน พื้นที่
                   ปาโดยสวนใหญ คือ เขตพื้นที่อนุรักษ (อุทยานแหงชาติเขาแหลม) และเขตปาสงวนแหงชาติ (ปาเพื่อการอนุรักษ)
                   ทิศเหนือ ติดกับ ตําบลไลโว อําเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ทิศใต ติดกับ ตําบลชะแล อําเภอทองผาภูมิ
                   จังหวัดกาญจนบุรี ทิศตะวันออก ติดกับ ตําบลชะแล อําเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี ทิศตะวันตก ติดกับ

                   ตําบลหนองลู อําเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี




























                                     ภาพที่ 1 แผนที่ภาพถายดาวเทียมแสดงบริเวณพื้นที่โครงการวิจัย

                          โครงการวิจัยนี้ ไดดําเนินการศึกษา วิจัย ในพื้นที่ หมูที่ 1 บานทาดินแดง วังขยาย ตําบลปรังเผล อําเภอ
                   สังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งอยูทางดานทิศใตของเขื่อนวชิราลงกรณ ระดับความสูงของพื้นที่มีความแตกตาง
                   กัน โดยมีความสูงจากระดับน้ําทะเลปานกลาง ในชวงระหวาง 154 ถึง 174 เมตร นอกจากนี้ ระดับความลาดชัน
                   ของพื้นที่โครงการวิจัยก็มีความแตกตางกัน สืนเนื่องจากพื้นที่ดังกลาวประกอบดวยเนินเขาอยูในตําแหนงที่สลับ

                   ตอเนื่องกันไป จึงทําใหพื้นที่นี้มีลักษระเปนหุบเขา ดังนั้นสภาพความลาดชันของพื้นที่ สามารถแบงได คือ พื้นที่ที่
                   มีความลาดชันเล็กนอยมาก (มีรอยละความลาดชัน เทากับ 2 ถึง 5) พื้นที่ที่มีความลาดชันเล็กนอย (มีรอยละ
                   ความลาดชัน เทากับ 5 ถึง 12) พื้นที่ที่มีความลาดชันสูง (มีรอยละความลาดชัน เทากับ 12 ถึง 20) และพื้นที่ที่มี
                   ความลาดชันสูงชันปานกลาง (มีรอยละความลาดชัน เทากับ 20 ถึง 35) เปนตน
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15