Page 7 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 7
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
1
หลักการและเหตุผล
การชะลางพังทลายดินเปนปญหาหลักที่นําไปสูความเสื่อมโทรมของที่ดิน ซึ่งสงผลตอความยั่งยืนในใช
ประโยชนจากผลิตภาพของดินเพื่อการเกษตรกรรมและสงผลตอความมั่นคงทางดานอาหารของมนุษย นอกจากนี้
การชะลางพังทลายดินยังสงผลกระทบตอแหลงน้ําและคุณภาพน้ําเนื่องจากกอใหเกิดความตื้นเขินและการ
ปนเปอนจากปจจัยการผลิตดานการเกษตร เชน ปุย หรือสารเคมีตาง ๆ ลงสูแหลงน้ํา เปนตน กระบวนการชะ
ลางพังทลาย สามารถเกิดขึ้นไดทั่วไปในพื้นที่เกษตรกรรมประเทศไทย เนื่องจากสภาพภูมิศาสตรของประเทศ
ตั้งอยูในเขตมรสุม จึงมักพบการไหลบาของน้ําและการพัดพาหนาดินในชวงฤดูฝนอยูบอยครั้ง ทั้งในพื้นที่
เกษตรกรรมและพื้นที่ตนน้ํา ดวยเหตุผลขางตนนี้ ปญหาการชะลางพังทลายของดินและการสูญเสียหนาดินและ
ธาตุอาหารพืชนี้ จึงเกิดขึ้นอยางรุนแรงและตอเนื่องโดยเฉพาะพื้นที่ที่มีความลาดชันสูงและไมมีมาตรการอนุรักษ
ดินและน้ําอยางเหมาะสม จากขอมูลทางสถิติสําหรับอัตราการสูญเสียดินในพื้นที่เกษตรกรรมของประเทศไทย
กรมพัฒนาที่ดินรายงานวามีอัตราการสูญเสียดินโดยเฉลี่ยทั้งประเทศ เทากับ 60.6 ตันตอไรตอป (40.41
ลูกบาศกเมตรตอไรตอป) คิดเปนมูลคาความเสียหาย 102,201.58 ลานบาท และการประเมินการสูญเสียดินใน
รูปของมูลคาธาตุอาหารพืชในตะกอนดินที่ถูกชะลางไปทั่วประเทศ ไดแก ธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ
โพแทสเซียม ในรูปของปุยและตะกอนหนาดิน คิดเปนมูลคาสูงถึง 8,337.73.29 ลานบาทตอป นอกจากนี้ การ
เลือกใชมาตรการอนุรักษดินและน้ําใหเหมาะสมกับสภาพพื้นที่นั้น ๆ จึงมีความจําเปนอยางยิ่ง เพราะการอนุรักษ
ดินและน้ําที่มีประสิทธิภาพจะสามารถลดการชะลางพังทลายของดินไดดีที่สุด ดวยเหตุนี้ การประเมินดินและ
ที่ดินเพื่อกําหนดมาตรการจัดการพื้นที่ที่เหมาะสม หรือ “การเลือกใชมาตรการอนุรักษดินและน้ํา (soil and
water conservation measure)” จึงเปนแนวทางในการอนุรักษดินและน้ําที่กอใหเกิดประโยชนสูงสุดแก
เกษตรกร โดยมีเปาหมายเพื่อใชปองกันและรักษาดินไมใหถูกชะลางพังทลาย เพื่อปองกันดินไมใหหลุดออกจาก
กันจากการตกกระทบของเม็ดฝนและลม โดยการลด ควบคุม หรือชะลอความเร็วของน้ําไหลบา และเพิ่มอัตรา
การไหลซึมของน้ําลงในดิน นอกจากนี้ การประเมินคุณภาพของดินในพื้นที่ สามารถใชเปนแนวทางประกอบการ
ตัดสินใจของเกษตรกร ในการยอมรับและสรางความตระหนักตอการนํามาตรการอนุรักษดินและน้ําไปใชในพื้นที่
ของตนเองได ซึ่งการจัดทํามาตรการอนุรักษดินและน้ําและการสรางความตระหนักการสูญเสียความอุดมสมบูรณ
ของดินอันเกิดจากการชะลางพังทลายของดินเปนหนาที่หลักของกรมพัฒนาที่ดิน โดยทั่วไปกรมพัฒนาที่ดินใช
สมการการสูญเสียดินสากล (Universal Soil Loss Equation: USLE) ในการคํานวณอัตราการสูญเสียดินในพื้นที่
ตาง ๆ รวมทั้งใชเพื่อการออกแบบมาตรการอนุรักษดินและน้ําทั่วประเทศ แตอยางไรก็ตามปจจุบัน ดวย
เทคโนโลยีปจจุบันที่ไดมีการนํานิวเคลียรเทคนิค ( Fallout Radio Nuclides : FRNs) มาใชในการประเมินอัตรา
การสูญเสียดินและการทับถมของตะกอนดิน เพื่อชวยในการลดปริมาณการชะลางพังทลายในระดับพื้นที่เฉพาะ
ขนาดเล็กไดอยางมีประสิทธิภาพ ดังนั้น การศึกษาและประยุกตใชนิวเคลียรเทคนิคควบคูไปกับการประเมินความ
เสื่อมโทรมของที่ดิน เพื่อทําแผนที่ภูมิประเทศ และกําหนดพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบที่แมนยํา จะชวยใหกรมพัฒนา
ที่ดินสามารถใหคําแนะนําและเพิ่มความนาเชื่อถือใหกับเกษตรกรและประชาชนในทองถิ่นไดตอไปในอนาคต