Page 75 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 75

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       69


                   ตารางที่ 21 คาเฉลี่ยปริมาณแคลเซียมในดิน (Ca) ในพื้นที่ทดลอง เก็บขอมูลครั้งที่ 1 (เดือนเมษายน)

                                                             ปริมาณแคลเซียมในดิน (Ca)
                   ระดับความลึกของดิน                                (mg/kg)
                       (เซนติเมตร)     Toeslope  Footslope  Backslope  Shoulder  Summit           คาเฉลี่ย

                                          (TS)        (FS)       (BS)        (SH)       (SU)      (Mean)
                   (1) พื้นที่ปลูกพืชที่ไมมีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา
                   0 - 10                607.85     332.91      373.98      282.49     337.16    386.878a
                   10 – 20               628.41     233.72      206.78      195.03     212.60    295.309b

                   20 – 30               473.43     179.81      140.90      163.13     199.99    231.453c
                   คาเฉลี่ย (Mean)     569.898     248.814     240.553    213.549    249.918  304.546b
                   (2) พื้นที่ปาหรือพื้นที่ไมผลที่ไมมีการรบกวนหนาดิน (ใชสําหรับการอางอิงขอมูล calibration)
                   0 - 10                380.51     335.28      445.12      429.91     491.10    416.384a
                   10 – 20               154.96     214.61      390.06      363.55     479.49    320.533b
                   20 – 30               92.54      171.98      256.35      189.07     229.23    187.833c

                   คาเฉลี่ย (Mean)     209.335     240.623     363.840    327.511    399.942  308.250b
                   (3) พื้นที่ปลูกพืชของเกษตรกรที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ําที่ออกแบบโดยกรมพัฒนาที่ดิน
                   0 - 10               1788.02     1465.54     1799.64    1764.61    1786.69  1720.901a
                   10 – 20              1146.51     1554.82     1797.17    1800.23    1428.62  1545.472b
                   20 – 30              1147.21     1662.95     1404.48    1536.17    1601.49  1470.459c

                   คาเฉลี่ย (Mean)    1360.583    1561.103    1667.097  1700.336  1605.600  1578.944a

                          ผลการศึกษาในสวนของปริมาณแคลเซียมในดิน (Ca) ในการเก็บขอมูลครั้งที่ 1 (เดือนเมษายน) พบวา
                   ปจจัยดานพื้นที่ศึกษา มีปริมาณ Ca ในดินที่แตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยยะสําคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 0.01

                   และปจจัยดานระดับความลึกของดิน มีปริมาณ Ca ในดินที่แตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยยะสําคัญ ที่ระดับความ
                   เชื่อมั่น 0.1
                          เมื่อเปรียบเทียบปริมาณ Ca กับพื้นที่ศึกษาทั้งสามแหลง พบวา พื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  มีปริมาณ Ca
                   สูงที่สุด เทากับ 1,314.99 mg/kg รองลงมาคือ พื้นที่ปายางพารา  มีปริมาณ Ca เทากับ 321.41 mg/kg และ

                   พื้นที่เพาะปลูกทั่วไป  มีปริมาณ Ca เทากับ 298.43 mg/kg ตามลําดับ
                          เมื่อเปรียบเทียบปริมาณ Ca กับระดับความลึกของดิน พบวา ปริมาณ Ca มีผกผันกับระดับความลึกของ
                   ดิน กลาวคือ พื้นที่เพาะปลูกทั่วไป  มีปริมาณ Ca เทากับ 348.50 298.95 และ 247.85 mg/kg ที่ระดับความลึก
                   ของดิน 0-10 10-20 และ 20-30 เซนติเมตร ตามลําดับ พื้นที่ปายางพารา  มีปริมาณ Ca เทากับ 407.78
                   334.13 และ 222.33 mg/kg ที่ระดับความลึกของดิน 0-10 10-20 และ 20-30 เซนติเมตร ตามลําดับ และพื้นที่
                   จัดระบบอนุรักษฯ  มีปริมาณ Ca เทากับ 1,412.48 1,264.46 และ 1,268.04 mg/kg ที่ระดับความลึกของดิน 0-

                   10 10-20 และ 20-30 เซนติเมตร ตามลําดับ
                          ในขณะที่ปริมาณ Ca เมื่อเปรียบเทียบกับความลาดชัน แมวาจะไมมีความแตกตางกันทางสถิติ แตวา
                   พื้นที่เพาะปลูกทั่วไป  มีปริมาณ Ca สูงสุด ณ บริเวณ Toeslope เทากับ 540.18 mg/kg พื้นที่ปายางพารา  มี
                   ปริมาณ Ca สูงสุด ณ บริเวณ Backslope เทากับ 389.13 mg/kg และพื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  มีปริมาณ Ca

                   สูงสุด ณ บริเวณ Shoulder เทากับ 1,465.93 mg/kg
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80