Page 70 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 70

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       64


                   ตารางที่ 19 คาเฉลี่ยปริมาณแมกนีเซียมในดิน (Mg) ในพื้นที่ทดลอง เก็บขอมูลครั้งที่ 2 (เดือนมิถุนายน)

                                                            ปริมาณแมกนีเซียมในดิน (Mg)
                    ระดับความลึกของดิน                               (mg/kg)
                       (เซนติเมตร)      Toeslope  Footslope  Backslope  Shoulder  Summit  คาเฉลี่ย

                                           (TS)        (FS)        (BS)       (SH)       (SU)     (Mean)
                   (1) พื้นที่ปลูกพืชที่ไมมีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา
                   0 - 10                 51.48       23.45       31.50       30.20      28.86    33.100a
                   10 – 20                36.11       16.99       18.97       16.43      20.34    21.766b

                   20 – 30                31.95       10.91       10.90       10.54      13.73    15.605b
                   คาเฉลี่ย (Mean)       39.850     17.116       20.457     19.054     20.975     23.490
                   (2) พื้นที่ปาหรือพื้นที่ไมผลที่ไมมีการรบกวนหนาดิน (ใชสําหรับการอางอิงขอมูล calibration)
                   0 - 10                 53.34       57.44       56.25       53.86      51.98    54.576a
                   10 – 20                24.98       28.27       39.00       43.91      43.87    36.006b
                   20 – 30                16.38       24.86       28.26       31.84      33.52    26.971b

                   คาเฉลี่ย (Mean)       31.568     36.856       41.170     43.205     43.122     39.184
                   (3) พื้นที่ปลูกพืชของเกษตรกรที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ําที่ออกแบบโดยกรมพัฒนาที่ดิน
                   0 - 10                 55.48       66.31       64.11       84.34      65.99    67.245a
                   10 – 20                49.05       65.11       52.91       67.67      52.10    57.370b
                   20 – 30                40.34       53.78       46.22       51.61      43.33    47.057c

                   คาเฉลี่ย (Mean)       48.291     61.734       54.417     67.871     53.806     57.224

                          ผลการศึกษาในสวนของปริมาณแมกนีเซียมในดิน (Mg) ในการเก็บขอมูลครั้งที่ 3 (เดือนสิงหาคม)
                   พบวา ปจจัยดานพื้นที่ศึกษาและปจจัยดานระดับความลึกของดิน มีปริมาณ Mg ในดินที่แตกตางกันทางสถิติ

                   อยางมีนัยยะสําคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 0.01
                          เมื่อเปรียบเทียบปริมาณ Mg กับพื้นที่ศึกษาทั้งสามแหลง พบวา พื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  มีปริมาณ Mg
                   สูงที่สุด เทากับ 62.98 mg/kg รองลงมาคือ พื้นที่ปายางพารา  มีปริมาณ Mg เทากับ 41.75 mg/kg และพื้นที่
                   เพาะปลูกทั่วไป  มีปริมาณ Mg เทากับ 20.92 mg/kg ตามลําดับ

                          เมื่อเปรียบเทียบปริมาณ Mg กับระดับความลึกของดิน พบวา ปริมาณ Mg มีผกผันกับระดับความลึก
                   ของดิน ยกเวนพื้นที่ปายางพารา  ที่มีปริมาณ Mg ในชั้นดินลาง มีปริมาณมากกวาชั้นดินบน กลาวคือ พื้นที่
                   เพาะปลูกทั่วไป  มีปริมาณ Mg เทากับ 29.24 20.16 และ 13.35 mg/kg ที่ระดับความลึกของดิน 0-10 10-20
                   และ 20-30 เซนติเมตร ตามลําดับ พื้นที่ปายางพารา  มีปริมาณ Mg เทากับ 32.32 44.93 และ 47.99 mg/kg ที่
                   ระดับความลึกของดิน 0-10 10-20 และ 20-30 เซนติเมตร ตามลําดับ และพื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  มีปริมาณ
                   Mg เทากับ 65.92 64.04 และ 58.98 mg/kg ที่ระดับความลึกของดิน 0-10 10-20 และ 20-30 เซนติเมตร

                   ตามลําดับ
                          ในขณะที่ปริมาณ Mg เมื่อเปรียบเทียบกับความลาดชัน แมวาจะไมมีความแตกตางกันทางสถิติ แตวา
                   พื้นที่เพาะปลูกทั่วไป  มีปริมาณ Mg  สูงสุด ณ บริเวณ Toeslope เทากับ 31.24 mg/kg พื้นที่ปายางพารา  มี
                   ปริมาณ Mg สูงสุด ณ บริเวณ Backslopeเทากับ 44.46 mg/kg และพื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  มีปริมาณ Mg สูงสุด

                   ณ บริเวณ Footslope เทากับ 69.26 mg/kg
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75