Page 71 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 71

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       65


                   ตารางที่ 20 คาเฉลี่ยปริมาณแมกนีเซียมในดิน (Mg) ในพื้นที่ทดลอง เก็บขอมูลครั้งที่ 3 (เดือนสิงหาคม)

                                                            ปริมาณแมกนีเซียมในดิน (Mg)
                    ระดับความลึกของดิน                               (mg/kg)
                        (เซนติเมตร)      Toeslope  Footslope  Backslope  Shoulder  Summit  คาเฉลี่ย

                                           (TS)        (FS)        (BS)        (SH)      (SU)     (Mean)
                   (1) พื้นที่ปลูกพืชที่ไมมีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา
                   0 - 10                 37.15        20.88       27.28      26.96      33.91    29.238a
                   10 – 20                31.02        14.60       17.81      15.25      22.11    20.159b

                   20 – 30                25.54        9.58        9.18        8.01      14.45    13.351c
                   คาเฉลี่ย (Mean)      31.240       15.022      18.090      16.741    23.488  20.916c
                   (2) พื้นที่ปาหรือพื้นที่ไมผลที่ไมมีการรบกวนหนาดิน (ใชสําหรับการอางอิงขอมูล calibration)
                   0 - 10                 45.17        20.15       12.28      56.32      27.66    32.316b
                   10 – 20                12.90        61.49       43.49      29.63      77.15    44.932a
                   20 – 30                49.93        40.77       77.59      44.77      26.93    47.998a

                   คาเฉลี่ย (Mean)      35.998       40.803      44.456      43.574    43.914  41.749b
                   (3) พื้นที่ปลูกพืชของเกษตรกรที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ําที่ออกแบบโดยกรมพัฒนาที่ดิน
                   0 - 10                 91.22        66.67       46.23      66.50      58.99    65.923a
                   10 – 20                53.35        79.81       67.83      52.30      66.89    64.035a
                   20 – 30                60.40        61.29       79.23      47.20      46.77    58.977a

                   คาเฉลี่ย (Mean)      68.324       69.257      64.429      55.332    57.549  62.978a

                          ปริมาณแมกนีเซียมในดิน (Mg) ที่พบในแตละพื้นที่ศึกษาทั้งสามแหลง มีปริมาณที่ลดลงตามชวง
                   ระยะเวลาของการเก็บขอมูล แมวาในการเก็บขอมูลครั้งที่ 3 (เดือนสิงหาคม) พื้นที่ปายางพารา  และพื้นที่

                   จัดระบบอนุรักษฯ  ที่มีปริมาณ Mg เพิ่มขึ้นมาเล็กนอย และพบวาปริมาณ Mg ที่ระดับความลึก 10-20 และ 20-
                   30 เซนติเมตร จะมีคาที่มากกวา ระดับความลึกที่ 0-10 เซนติเมตร (ภาพที่ 27 ข และ ค) แตทวา คาเฉลี่ย Mg
                   ในแตละพื้นที่ มีคาสูงที่สุดบริเวณผิวหนาดินแลวจะลดลงตามระดับความลึก

                          แนวโนมของการลดลงของปริมาณ Mg เมื่อเวลาผานไป อาจเกิดจากการที่พืชนําธาตุอาหารไปใช และ
                   สะสมฝนผลผลิต และการสูญเสียโดยการถูกชะลางพัดพาลงสูชั้นดินลางก็ได โดยสังเกตุไดจากพื้นที่ปายางพารา
                   และพื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  ในชวงระยะเวลาการเก็บขอมูลครั้งที่ 3 ที่ปริมาณ Mg ที่ระดับความลึก 0-10
                   เซนติเมตร มีคานอยกวาปริมาณ Mg ที่ระดับความลึก 10-20 และ 20-30 เซนติเมตร (ภาพที่ 27 ข และ ค) ซึ่ง
                   อาจเกิดจากการชะลางพัดพาธาตุอาหารใหลงสูชั้นดินในระดับที่ลึกลงไป
                          ภาพที่ 28 แสดงปริมาณ Mg โดยเฉลี่ยระหวางพื้นที่ศึกษาทั้งสามแหลง ตลอดชวงระยะเวลาที่มีการเก็บ
                   ขอมูล พบวา แนวโนมของปริมาณ Mg โดยเฉลี่ย ณ ชวงระยะเวลาการเก็บขอมูลครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 มีความ

                   สอดคลองกัน และมีแนวโนมไปในทางเดียวกัน กลาวคือ พื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  มีปริมาณ Mg สูงที่สุด
                   รองลงมาคือ พื้นที่ปายางพารา  และพื้นที่เกษตรกรทั่วไป  ตามลําดับ แตเมื่อถึงชวงระยะเวลาการเก็บขอมูลครั้ง
                   ที่ 3 พื้นที่ปายางพารา  จะมีปริมาณ โดยเฉลี่ยที่ระดับความลึก 0-10 เซนติเมตร ใกลเคียงกับพื้นที่เกษตรกรทั่วไป
                   แตปริมาณ Mg ที่ระดับความลึก 10-20 และ 20-30 เซนติเมตร มีปริมาณ Mg ที่เพิ่มขึ้น ซึ่งอาจเกิดจาก การ
                   เคลื่อนตัวของธาตุ Mg ซึมลงไปสูชั้นดินลางจากกระบวนการชะลางพัดพาโดยฝน แทนที่การชะลางพัดพาหนาดิน
                   ในแนวขวางแลวสูญเสียออกไปจากพื้นที่ก็ได
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76