Page 68 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 68

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       62


                   1.6 ปริมาณแมกนีเซียมในดิน (Mg)

                          ผลการศึกษาในสวนของปริมาณแมกนีเซียมในดิน (Mg) ในการเก็บขอมูลครั้งที่ 1 (เดือนเมษายน) พบวา
                   ปจจัยดานพื้นที่ศึกษาและปจจัยดานระดับความลึกของดิน มีปริมาณ Mg ในดินที่แตกตางกันทางสถิติอยางมีนัย
                   ยะสําคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 0.01
                          เมื่อเปรียบเทียบปริมาณ Mg กับพื้นที่ศึกษาทั้งสามแหลง พบวา พื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  มีปริมาณ Mg
                   สูงที่สุด เทากับ 109.41 mg/kg รองลงมาคือ พื้นที่ปายางพารา  มีปริมาณ Mg เทากับ 66.95 mg/kg และพื้นที่

                   เพาะปลูกทั่วไป  มีปริมาณ Mg เทากับ 46.99 mg/kg ตามลําดับ
                          เมื่อเปรียบเทียบปริมาณ Mg กับระดับความลึกของดิน พบวา ปริมาณ Mg มีผกผันกับระดับความลึก
                   ของดิน กลาวคือ พื้นที่เพาะปลูกทั่วไป  มีปริมาณ Mg เทากับ 74.27 41.58 และ 25.12 mg/kg ที่ระดับความลึก
                   ของดิน 0-10 10-20 และ 20-30 เซนติเมตร ตามลําดับ พื้นที่ปายางพารา  มีปริมาณ Mg เทากับ 98.41 58.48
                   และ 43.96 mg/kg ที่ระดับความลึกของดิน 0-10 10-20 และ 20-30 เซนติเมตร ตามลําดับ และพื้นที่จัดระบบ

                   อนุรักษฯ  มีปริมาณ Mg เทากับ 126.72 106.64 และ 94.87 mg/kg ที่ระดับความลึกของดิน 0-10 10-20 และ
                   20-30 เซนติเมตร ตามลําดับ
                          ในขณะที่ปริมาณ Mg เมื่อเปรียบเทียบกับความลาดชัน แมวาจะไมมีความแตกตางกันทางสถิติ แตวา
                   พื้นที่เพาะปลูกทั่วไป  มีปริมาณ Mg  สูงสุด ณ บริเวณ Toeslope เทากับ 82.27 mg/kg พื้นที่ปายางพารา  มี
                   ปริมาณ Mg สูงสุด ณ บริเวณ Summit เทากับ 80.38 mg/kg และพื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  มีปริมาณ Mg สูงสุด
                   ณ บริเวณ Shoulder เทากับ 116.12 mg/kg
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73