Page 61 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 61

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       55


                   1.5 ปริมาณโพแทสเซียมในดิน (K)

                          ในการเก็บขอมูลครั้งที่ 1 (เดือนเมษายน) พบวาปจจัยดานพื้นที่ศึกษาและปจจัยดานระดับความลึกของ
                   ดินที่สงผลตอปริมาณโพแทสเซียมในดิน (K) มีความแตกตางกันอยางมีนัยยะสําคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น
                   0.01
                          เมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่ศึกษาทั้งสามแหลง พบวาพื้นที่ที่ไมมีการรบกวนหนาดิน  มีปริมาณ K โดย
                   เฉลี่ย สูงที่สุด เทากับ 159.18 mg/kg รองลงมาคือ พื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  มีปริมาณ K เทากับ 144.72 mg/kg

                   และ พื้นที่เพาะปลูกพืชทั่วไป  มีปริมาณ K เทากับ 115.58 mg/kg ตามลําดับ
                          ในขณะที่ปริมาณ K ในดิน เมื่อเปรียบเทียบกับระดับความลึกของดินพบวา ปริมาณ K .ในดินมีปริมาณ
                   สูงที่สุดที่ระดับความลึก 0-10 เซนติเมตร และจะมีปริมาณลดต่ําลงตามระดับความลึกที่เพิ่มมากขึ้น โดยพื้นที่
                   เพาะปลูกพืชทั่วไป  มีปริมาณ K เทากับ 129.06 104.79 และ 112.90 mg/kg ที่ระดับความลึก 0-10 10-20
                   และ 20-30 เซนติเมตร ตามลําดับ พื้นที่ที่ไมมีการรบกวนหนาดิน  มีปริมาณ K เทากับ 192.21 150.50 และ

                   134.83 mg/kg ที่ระดับความลึก 0-10 10-20 และ 20-30 เซนติเมตร ตามลําดับ และพื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  มี
                   ปริมาณ K เทากับ 164.07 136.71 และ 133.45 mg/kg ที่ระดับความลึก 0-10 10-20 และ 20-30 เซนติเมตร
                   ตามลําดับ
                   ตารางที่ 15 คาเฉลี่ยปริมาณโพแทสเซียมในดิน (K) ในพื้นที่ทดลอง เก็บขอมูลครั้งที่ 1 (เดือนเมษายน)
                                                             ปริมาณโพแทสเซียมในดิน (K)
                    ระดับความลึกของดิน                               (mg/kg)

                       (เซนติเมตร)      Toeslope  Footslope  Backslope  Shoulder  Summit  คาเฉลี่ย
                                           (TS)        (FS)        (BS)       (SH)       (SU)     (Mean)
                   (1) พื้นที่ปลูกพืชที่ไมมีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา
                   0 - 10               149.02     111.56      118.01      127.92      138.79    129.059a
                   10 – 20              128.12     92.31       98.60       85.46       119.49    104.793b

                   20 – 30              110.55     109.56      123.83      102.24      118.32    112.899b
                   คาเฉลี่ย (Mean)     129.228    104.476     113.479     105.207     125.530  115.584c
                   (2) พื้นที่ปาหรือพื้นที่ไมผลที่ไมมีการรบกวนหนาดิน (ใชสําหรับการอางอิงขอมูล calibration)
                   0 - 10               201.06     188.37      207.71      187.63      176.27    192.209a
                   10 – 20              138.84     151.75      167.04      153.58      141.30    150.503b
                   20 – 30              119.27     157.44      138.17      141.83      117.42    134.827c

                   คาเฉลี่ย (Mean)     153.059    165.858     170.971     161.013     144.998  159.180a
                   (3) พื้นที่ปลูกพืชของเกษตรกรที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ําที่ออกแบบโดยกรมพัฒนาที่ดิน
                   0 - 10               221.29     124.28      159.80      151.02      163.96    164.071a
                   10 – 20              157.95     106.18      153.45      136.34      129.62    136.708b
                   20 – 30              125.40     172.33      127.64      123.74      118.14    133.447b

                   คาเฉลี่ย (Mean)     168.214    134.262     146.959     137.033     137.240  144.742b
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66