Page 57 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 57

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       51


                          คาเฉลี่ย P ในการเก็บขอมูลครั้งที่ 2 (เดือนมิถุนายน) พบวาปจจัยดานประเภทความลาดชัน มีความ
                   แตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ ที่ระดับคามเชื่อมั่น 0.01

                          โดยพื้นที่ปลูกพืชทั่วไป  มีปริมาณ P โดยเฉลี่ยมากที่สุด เทากับ 0.71 mg/kg รองลงมาคือ พื้นที่ปา
                   ยางพาราที่ไมมีการรบกวนหนาดิน  เทากับ 0.64 mg/kg และพื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  เทากับ 0.54 mg/kg
                   ตามลําดับ
                          ในขณะที่คาเฉลี่ย P ตามระดับความลึก พบวา มีความแตกตางกันตามพื้นที่ศึกษา กลาวคือ ปริมาณ P
                   ในพื้นที่ปลูกพืชทั่วไป  มีคาเฉลี่ย P สูงสุด ที่ระดับความลึก 10-20 เซนติเมตร (0.85 mg/kg) และปริมาณ P ใน

                   พื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  มีคาเฉลี่ย P สูงสุด ที่ระดับความลึก 10-20 เซนติเมตร (0.91 mg/kg)
                          ปจจัยดานประเภทของความลาดชันตอปริมาณ P ในดิน พบวา พื้นที่ปลูกพืชทั่วไป  และพื้นที่ที่ไมมีการ
                   รบกวนหนาดิน  มีปริมาณ P ณ บริเวณ Toeslope ซึ่งเปนจุดที่ต่ําที่สุด เทากับ 1.06 และ 0.982 mg/kg

                   ตามลําดับ ในขณะที่พื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  มีปริมาณ P สูงที่สุด ณ บริเวณ Backslope มีคาเทากับ 0.64
                   mg/kg

                   ตารางที่ 14 คาเฉลี่ยปริมาณฟอสฟอรัสในดิน (P) ในพื้นที่ทดลอง เก็บขอมูลครั้งที่ 3 (เดือนสิงหาคม)
                                                                ปริมาณฟอสฟอรัสในดิน (P)
                    ระดับความลึกของดิน                                  (mg/kg)

                       (เซนติเมตร)      Toeslope  Footslope  Backslope  Shoulder  Summit  คาเฉลี่ย
                                           (TS)        (FS)        (BS)        (SH)       (SU)    (Mean)
                   (1) พื้นที่ปลูกพืชที่ไมมีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา
                   0 - 10                  0.95        0.70        1.08        0.29       0.74     0.751
                   10 – 20                 0.53        0.78        1.35        0.11       0.01     0.557

                   20 – 30                 1.71        1.35        0.39        0.46       0.23     0.828
                   คาเฉลี่ย (Mean)       1.063       0.943       0.939       0.285      0.329     0.712
                   (2) พื้นที่ปาหรือพื้นที่ไมผลที่ไมมีการรบกวนหนาดิน (ใชสําหรับการอางอิงขอมูล calibration)
                   0 - 10                  1.09        0.46        0.01        0.94       1.01     0.701
                   10 – 20                 0.96        0.44        1.35        0.87       0.63     0.850
                   20 – 30                 0.88        0.35        0.05        0.01       0.52     0.362

                   คาเฉลี่ย (Mean)       0.978       0.414       0.469       0.606      0.721     0.638
                   (3) พื้นที่ปลูกพืชของเกษตรกรที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ําที่ออกแบบโดยกรมพัฒนาที่ดิน
                   0 - 10                  0.07        0.08        0.06        0.82       0.49     0.304
                   10 – 20                 0.64        1.67        1.24        0.59       0.38     0.905
                   20 – 30                 0.80        0.05        0.61        0.01       0.63     0.421

                   คาเฉลี่ย (Mean)       0.506       0.600       0.638       0.472      0.501     0.543
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62