Page 58 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 58

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       52



                          แมวาไมมีปจจัยที่ตองการศึกษาใด ๆ มีอิทธิพบตอปริมาณฟอสฟอรัสในดิน (P) ยกเวนปจจัยดาน
                   ประเภทความลาดชัน ในการเก็บขอมูลครั้งที่ 2 (เดือนมิถุนายน) ที่พบวามีความแตกตางกันทางสถิติอยางมี
                   นัยสําคัญ ที่ระดับคามเชื่อมั่น 0.01 ซึ่งสามารถวิจารณผลการทดลองได ดังตอไปนี้
                          ปริมาณ P ในการเก็บขอมูลครั้งที่ 3 (เดือนสิงหาคม) มีคาเฉลี่ยที่นอยที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณ
                   P ในการเก็บขอมูลทั้งสองครั้งกอนหนานี้ (ภาพที่ 23) ซึ่งอาจไดรับอิทธิพลมาจากปริมาณน้ําฝนที่อาจพัดพาธาตุ
                   P ใหออกไปจากพื้นที่ไดงาย เพราะฉะนั้นจึงสามารถกลาวไดวา ฟอสฟอรัสในดินสามารถสูญเสียออกไปจากดินได
                   งายมาก โดยเฉพาะในชวงฤดูฝนที่มีปริมาณฝนตกชุกที่สุด ดังนั้นจึงควรมีการจัดการที่ที่เหมาะสมและหมั่นใสปุย

                   ที่ใหธาตุฟอสฟอรัสตามความตองการของพืชที่ปลูก ทุก ๆ ฤดูกาลปลูก เพื่อใหมีปริมาณธาตุฟอสฟอรัสอยาง
                   เพียงพอ
                          เมื่อเปรียบเทียบปริมาณ P ระหวางพื้นที่ศึกษาทั้งสามแหลงกับประเภทความลาดชันทั้งหาบริเวณ
                   พบวา พื้นที่ศึกษาทั้งหมด ไมมีความแตกตางกันของปริมาณ P ในดินในแตละประเภทของความลาดชัน ซึ่ง

                   ปริมาณ P ที่คงที่ในทุกบริเวณความลาดชันนั้น อาจเกิดจากการใสปุย P ของเกษตรกรในทั้งรูปแบบ ชนิด และ
                   อัตราการใสที่ใกลเคียงกัน จึงทําใหปริมาณ P ของพื้นที่ศึกษาทั้งหมดไมแตกตางกัน และยังมีปริมาณที่สูงที่สุดใน
                   การเก็บขอมูลครั้งที่ 1 (เดือนเมษายน) แลวคอยๆลดนอยลงไป เพราะเกษตรกรอาจใสปุยในชวงระยะเวลา
                   เดียวกันดวย (ภาพที่ 24 ก) หลังจากนั้น ในการเก็บขอมูลครั้งที่ 2 (เดือนมิถุนายน) และการเก็บขอมูลครั้งที่ 3
                   (เดือนสิงหาคม) กลับมีแนวโนมของปริมาณ P ที่แตกตางกันในแตละพื้นที่ศึกษา กลาวคือ สิ่งปกคลุมหนาดินไมมี
                   ผลตอการรักษาปริมาณ P ใหคงอยูในหนาดิน เพราะพื้นที่ศึกษาที่ประกอบดวย พื้นที่ที่ไมรบกวนหนาดิน  และ
                   พื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  ไมมีแนวโนมที่ไปในทางเดียวกัน อีกทั้งพื้นที่เพาะปลูกพืชทั่วไป  พบวามีปริมาณ P โดย
                   เฉลี่ย สูงกวาพื้นที่ทั้งสองเชนกัน

                          เพราะฉะนั้นจึงกลาวไดวา การจัดการปริมาณฟอสฟอรัสในดิน (P) ใหอยูในรูปที่เปนประโยชนของพืช
                   จําเปนตองใสปุย P ใหพอเหมาะกับความตองการของพืช เพราะธาตุ P มีการสูญเสียความเปนประโยชนในดินได
                   งาย ดังนั้น จึงควรหมั่นเพิ่มปริมาณ P ในดินใหเหมาะสมตลอดฤดูกาลเพาะปลูก
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63