Page 55 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 55

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       49


                   1.4 ปริมาณฟอสฟอรัสในดิน (P)

                          ผลการศึกษาเปรียบเทียบพื้นที่การจัดการดินที่แตกตางกันสามแหลง ในพื้นที่ความลาดชันหาประเภท
                   และระดับความลึกสามระดับ ที่มีผลตอปริมาณฟอสฟอรัสในดิน (P) สามารถรายงานไดดังนี้ คาเฉลี่ย P ในการ
                   เก็บขอมูลครั้งที่ 1 (เดือนเมษายน) พบวาไมมีปจจัยใดที่มีความแตกตางกันทางสถิติ ทั้งปจจัยดานพื้นที่ ประเภท
                   ความลาดชัน และระดับความลึก
                          อยางไรก็ตาม พื้นที่ปายางพาราที่ไมมีการรบกวนหนาดิน  มีปริมาณ P โดยเฉลี่ยมากที่สุด เทากับ 4.20
                   mg/kg รองลงมาคือ พื้นที่ปลูกพืชทั่วไป  เทากับ 3.64 mg/kg และพื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  เทากับ 3.57 mg/kg

                   ตามลําดับ
                          ในขณะที่คาเฉลี่ย P ตามระดับความลึก พบวา มีปริมาณ P ในระดับผิวหนาดินมากที่สุด (0-10
                   เซนติเมตร) ยกเวนพื้นที่ที่ไมมีการรบกวนหนาดิน  ที่มีปริมาณ P ในระดับความลึก 20-30 เซนติเมตร มากที่สุด

                          ปจจัยดานประเภทของความลาดชันตอปริมาณ P ในดิน พบวา พื้นที่ปลูกพืชทั่วไป  และพื้นที่ที่ไมมีการ
                   รบกวนหนาดิน  มีปริมาณ P ณ บริเวณ Toeslope ซึ่งเปนจุดที่ต่ําที่สุด เทากับ 4.17 และ 7.10 mg/kg
                   ตามลําดับ แตกตางกับพื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  มีปริมาณ P ณ บริเวณ Footslope มีคาเทากับ 4.10 mg/kg
                   ตารางที่ 12 คาเฉลี่ยปริมาณฟอสฟอรัสในดิน (P) ในพื้นที่ทดลอง เก็บขอมูลครั้งที่ 1 (เดือนเมษายน)

                                                                 ปริมาณฟอสฟอรัสในดิน (P)
                    ระดับความลึกของดิน                                   (mg/kg)
                        (เซนติเมตร)      Toeslope  Footslope  Backslope  Shoulder  Summit  คาเฉลี่ย
                                           (TS)        (FS)        (BS)        (SH)       (SU)    (Mean)
                   (1) พื้นที่ปลูกพืชที่ไมมีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา
                   0 - 10                  3.79        4.28        3.21        4.77       3.75     3.960

                   10 – 20                 4.77        3.81        2.56        3.31       3.94     3.677
                   20 – 30                 3.94        3.09        3.63        2.99       2.68     3.267
                   คาเฉลี่ย (Mean)        4.169      3.727       3.131       3.691      3.457     3.635
                   (2) พื้นที่ปาหรือพื้นที่ไมผลที่ไมมีการรบกวนหนาดิน (ใชสําหรับการอางอิงขอมูล calibration)
                   0 - 10                  3.28        4.07        2.52        3.89       4.34     3.621
                   10 – 20                 2.92        2.52        3.35        3.79       4.07     3.329

                   20 – 30                 15.10       2.84        3.23        2.63       4.37     5.637
                   คาเฉลี่ย (Mean)        7.100      3.146       3.036       3.437      4.261     4.196
                   (3) พื้นที่ปลูกพืชของเกษตรกรที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ําที่ออกแบบโดยกรมพัฒนาที่ดิน
                   0 - 10                  4.54        5.63        4.27        4.78       3.63     4.569

                   10 – 20                 3.58        3.67        3.20        2.48       2.69     3.125
                   20 – 30                 2.60        2.93        4.09        3.56       1.92     3.020
                   คาเฉลี่ย (Mean)        3.573      4.077       3.852       3.607      2.748     3.571
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60