Page 50 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 50

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       44


                          จากผลขอมูลคาเฉลี่ยปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (OM) ทุกชวงเวลา สามารถวิจารณไดวา ความมแตกตาง
                   ของการจัดการดินในแตละพื้นที่ศึกษาในระดับความลึกของดินทั้งสามระดับความลึก มีผลตอปริมาณอินทรียวัตถุ
                   ในดิน (OM) กลาวคือ คา OM คือสารประกอบอินทรียมีองคประกอบหลักของธาตุคารบอนและไนโตรเจน ที่เกิด
                   จากการผุพังยอยสลายของเศษซากพืชและสัตว หมายความวา ถาพื้นที่ใดที่มีการจัดการดิน เชน การปลูกพืชคลุม

                   ดิน การปลูกพืชปุยสด การเขตกรรม การใสปุยอินทรีย หรือการนํามาตรการอนุรักษดินและน้ําไปใชในพื้นที่ จะ
                   สงผลใหปริมาณ OM คงสภาพและรักษาไวในดินไดอยางตอเนื่อง
                          พื้นที่ปายางพาราที่ไมมีการรบกวนหนาดิน  แสดงใหเห็นวา การที่มีตนไมหรือพืชปกคลุมหนาดิน
                   ตลอดเวลา สามารถเพิ่มและคงสภาพสถานะของปริมาณ OM ไวในดินได ในขณะเดียวกัน พื้นที่ปลูกพืชที่มีการ
                   นํามาตรการอนุรักษดินและน้ําไปใช  ก็พบปริมาณ OM ที่ไมแตกตางกัน ซึ่งจะแตกตางกันกับพื้นที่ปลูกพืชทั่วไป
                   ของเกษตรกร  ที่มีปริมาณ OM นอยกวาอยางเห็นไดชัด

                          เมื่อเปรียบเทียบปริมาณ OM ระหวางชวงระยะเวลาของการเก็บขอมูลและพื้นที่ศึกษาทั้งสามแหลง ดัง
                   ภาพที่ 19 และ 20 สามารถขยายความได ดังนี้ พื้นที่ปลูกพืชทั่วไป  ไมมีความแตกตางกัน แมคาเฉลี่ยปริมาณ
                   OM จะลดลงแตแนวโนมของปริมาณ OM กับปจจัยดานความลึกของดินไมมีผลแตกตางกันมาก ซึ่งสามารถ
                   อธิบายไดวา ปริมาณ OM .ในภาพรวม มีการสูญเสียออกจากพื้นที่ไปโดยสิ้นเชิง หรือการถูกชะลางพัดพาปริมาณ
                   OM ตามแนวราบมากกวาการชะลางพัดพาตามแนวระดับความลึก ในขณะที่แนวโนมปริมาณ OM ของพื้นที่ที่ไม
                   มีการรบกวนหนาดิน  และพื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  มีแนวโนมไปในทางเดียวกัน กลาวคือ การเก็บขอมูลครั้งที่ 1
                   (เดือนเมษายน) และครั้งที่ 2 (เดือนมิถุนายน) ดังภาพที่ 19 (ข) และ (ค) มีแนวโนมที่เหมือนกัน คือ พบปริมาณ

                   OM บนผิวหนาดินหรือที่ระดับความลึก 0-10 เซนติเมตร มากที่สุด และจัดลดลงตามความลึกของดิน อยางไรก็
                   ตาม เมื่อเก็บขอมูลครั้งที่ 3 (เดือนสิงหาคม) ปริมาณ OM ในระดับความลึกของดินที่ลึงลงไปกลับพบปริมาณ OM
                   ที่มากกวาชั้นผิวหนาดิน ซึ่งสามารถอธิบายไดวา ปริมาณน้ําฝนในชวงเดือนสิงหาคม และความสามารถในการซึม
                   ซาบน้ําของดิน สงผลใหเกิดการชะชางพัดพาปริมาณ OM ใหซึมลงสูชั้นดินมากที่สุด ซึ่งแมวาปริมาณ OM ที่
                   ระดับความลึก 0-10 เซนติเมตร ในการเก็บขอมูลครั้งที่ 3 (เดือนสิงหาคม) จะนอยกวา ปริมาณ OM ในชวงเวลา
                   การเก็บขอมูลกอนหนา แตปริมาณ OM ทั้งหมดในพื้นที่ ไมมีการสูญเสียออกไปจากพื้นที่ โดยสังเกตไดจาก
                   คาเฉลี่ย OM ตามชวงเวลา (ตารางที่ 9 10 และ 11) พื้นที่ที่ไมมีการรบกวนหนาดิน  และพื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ
                   มีปริมาณ OM มากกวา พื้นที่ปลูกพืชทั่วไป  ของทั้งสามชวงเวลา (ภาพที่ 20)

                          ปจจัยดานประเภทความลาดชันทั้ง 5 ประเภท มีผลตอปริมาณ OM ดังนี้ พื้นที่ศึกษาทั้งสามแหลงมีการ
                   สะสมหรือพบปริมาณ OM ที่แตกตางกันไปตามความลาดชันบริเวณตาง ๆ (ภาพที่ 21) กลาวคือ พื้นที่ปลูกพืช
                   ทั่วไป  มีการสะมของ OM โดยเฉลี่ย ณ บริเวณ Toeslope ซึ่งเปนจุดที่ต่ําที่สุดของพื้นที่ ตลอดสามชวงเวลาของ
                   การเก็บขอมูล (ภาพที่ 21 ก) ในขณะที่พื้นที่ที่ไมมีการรบกวนหนาดิน   พบปริมาณ OM โดยเฉลี่ย ณ บริเวณ
                   Shoulder และ Summit ซึ่งเปนจุดที่เหนือขึ้นไปของพื้นที่ ตลอดทั้งสามชวงเวลาของการเก็บขอมูล (ภาพที่ 21
                   ข) ซึ่งจะคลายคลึงกับแนวโนมในพื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  ที่พบปริมาณ OM โดยเฉลี่ย ณ บริเวณ Shoulder และ

                   Footslope ซึ่งเปนบริเวณกึ่งกลางของพื้นที่ ตลอดทั้งสามชวงเวลาของการเก็บขอมูล (ภาพที่ 21 ค) ทําใหสรุปได
                   วา การมีสิ่งปกคลุมหนาดินโดยเฉพาะในชวงฤดูฝน มีผลตอการรักษาปริมาณ OM ในดินไวได เพราะปริมาณ OM
                   รวมถึงธาตุอาหารพืชอื่น ๆ มักสะสมอยูบริเวณผิวหนาดิน สงผลใหการชะลางพังทลายของชั้นหนาดินโดยฝน
                   ก็จัสงผลตอการสูญเสียความอุดมสมบูรณของดินไดเชนเดียวกัน โดยสังเกตไดจากภาพที่ 22 ที่มีการเปลี่ยนแปลง
                   ปริมาณ OM จากบริเวณที่สูงไปสูบริเวณที่ต่ํากวา แตปริมาณ OM ในภาพรวม ยังคงมีมากกวา พื้นที่ทั่วไปที่ไมมี
                   สิ่งปกคลุมดินใด ๆ เลย
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55