Page 46 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 46

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       40


                   1.3 ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (OM)

                          คาเฉลี่ยของปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (OM) สามารถรายงานไดดังนี้ ในการเก็บขอมูลครั้งที่ 1 (เดือน
                   เมษายน) ปจจัยดานระดับความลึกของดินและความแตกตางกันของพื้นที่ศึกษา มีความแตกตางกันของปริมาณ
                   อินทรียวัตถุในดิน (OM) อยางมีนัยยะสําคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 0.01
                          เมื่อกลาวถึงปจจัยดานพื้นที่การจัดการดินทั้งสามประเภท พบวา พื้นที่จัดระบบอนุรักษ  มีปริมาณ
                   อินทรียวัตถุในดินโดยเฉลี่ยสูงที่สุด (3.12%) พื้นที่ถัดมาคือ พื้นที่ปายางพารา  มีคาเฉลี่ย OM เทากับ 3.08 %

                   และพื้นที่ปลูกพืชทั่วไป  ที่มีคาเฉลี่ย OM เทากับ 2.41 % ตามลําดับ
                          ในขณะที่คาเฉลี่ย OM เมื่อเปรียบเทียบกับระดับความลึก พบวา พื้นที่ศึกษาทั้งสามแหลงมีปริมาณ OM
                   โดยเฉลี่ยสูงที่สุดอยูที่ระดับหนาดิน คือ 0-10 เซนติเมตร  เหมือนกันทั้งหมด โดยที่ปริมาณ OM จะลดลง เมื่อ
                   ความลึกของดินเพิ่มมากขึ้น กลาวคือ พื้นที่จัดระบบอนุรักษ  มีปริมาณอินทรียวัตถุในดิน เทากับ 3.92% 3.08%
                   และ 2.36% ที่ระดับความลึก 0-10 10-20 และ 20-30 เซนติเมตร ตามลําดับ พื้นที่ปายางพารา  มีปริมาณ

                   อินทรียวัตถุในดิน เทากับ 4.01% 2.94% และ 2.27% ที่ระดับความลึก 0-10 10-20 และ 20-30 เซนติเมตร
                   ตามลําดับ และพื้นที่ปลูกพืชทั่วไป  มีปริมาณอินทรียวัตถุในดิน เทากับ 2.81% 2.48% และ 1.91% ที่ระดับ
                   ความลึก 0-10 10-20 และ 20-30 เซนติเมตร ตามลําดับ
                          แมวาคาเฉลี่ย OM เมื่อเปรียบเทียบกับประเภทความลาดชันทั้ง 5 ประเภท จะไมมีความแตกตางกัน
                   ทางสถิติ แตพื้นที่ปลูกพืชทั่วไป  มีคาเฉลี่ย OM สูงที่สุด ณ บริเวณ Toeslope (2.87%) พื้นที่ปายางพารา  มี

                   คาเฉลี่ย OM สูงที่สุด ณ บริเวณ Summit (3.36%) และพื้นที่จัดระบบอนุรักษ  มีคาเฉลี่ย OM สูงที่สุด ณ บริเวณ
                   Shoulder (3.62%)
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51