Page 48 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 48

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       42


                   ตารางที่ 10 คาเฉลี่ยปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (OM) ในพื้นที่ทดลอง เก็บขอมูลครั้งที่ 2 (เดือนมิถุนายน)
                                                               ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (OM)
                     ระดับความลึกของดิน                                   (%)

                        (เซนติเมตร)      Toeslope  Footslope  Backslope  Shoulder  Summit  คาเฉลี่ย
                                           (TS)        (FS)        (BS)       (SH)       (SU)    (Mean)
                    (1) พื้นที่ปลูกพืชที่ไมมีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา
                    0 - 10               2.95           2.62        2.74       2.58       2.40    2.659a
                    10 – 20              2.97          2.56        2.36        2.27      2.13     2.458a
                    20 – 30              2.33          1.88        1.65        1.69      1.62     1.835b
                    คาเฉลี่ย Mean)     2.750a        2.353b      2.251b      2.183b    2.050b  2.317b

                    (2) พื้นที่ปาหรือพื้นที่ไมผลที่ไมมีการรบกวนหนาดิน (ใชสําหรับการอางอิงขอมูล calibration)
                    0 - 10                3.64         4.09        3.82        4.06      3.99     3.920a
                    10 – 20              2.60          2.91        2.94        3.74      3.63     3.164b
                    20 – 30              1.86          2.26        2.03        2.77      2.23     2.230c

                    คาเฉลี่ย(Mean)      2.701a       3.087a      2.929a      3.523a    3.282a  3.105a
                    (3) พื้นที่ปลูกพืชของเกษตรกรที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ําที่ออกแบบโดยกรมพัฒนาที่ดิน
                    0 - 10                3.52         3.93        3.84        4.07      4.12     3.897a
                    10 – 20              2.46          2.60        2.89        3.85      2.71     2.902b
                    20 – 30              1.89          2.00        2.86        3.55      1.94     2.448b
                    คาเฉลี่ย(Mean)      2.623b       2.844ab     3.198a      3.821a    2.924a  3.082a


                          คาเฉลี่ยของปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (OM) สามารถรายงานไดดังนี้ ในการเก็บขอมูลครั้งที่ 2 (เดือน
                   มิถุนายน) ปจจัยดานระดับความลึกของดินและความแตกตางกันของพื้นที่ศึกษา มีความแตกตางกันของปริมาณ

                   อินทรียวัตถุในดิน (OM) อยางมีนัยยะสําคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 0.01 ในขณะที่ปจจัยดานความลาดชัน
                   มีความแตกตางกันของปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (OM) อยางมีนัยยะสําคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 0.1
                          เมื่อกลาวถึงปจจัยดานพื้นที่การจัดการดินทั้งสามประเภท พบวา พื้นที่จัดระบบอนุรักษ  มีปริมาณ
                   อินทรียวัตถุในดินโดยเฉลี่ยสูงที่สุด (3.07%) พื้นที่ถัดมาคือ พื้นที่ปายางพารา  มีคาเฉลี่ย OM เทากับ 2.97 %
                   และพื้นที่ปลูกพืชทั่วไป  ที่มีคาเฉลี่ย OM เทากับ 2.49 % ตามลําดับ

                          ในขณะที่คาเฉลี่ย OM เมื่อเปรียบเทียบกับระดับความลึก พบวา มีเพียงพื้นที่ปลูกพืชทั่วไป  ที่ยังคงมี
                   ปริมาณ OM โดยเฉลี่ยสูงที่สุดอยูที่ระดับหนาดิน คือ 0-10 เซนติเมตร โดยที่ปริมาณ OM จะลดลง เมื่อความลึก
                   ของดินเพิ่มมากขึ้น โดยมีคาเฉลี่ย OM เทากับ 2.84% 2.60% และ 2.05% ระดับความลึก 0-10 10-20 และ 20-
                   30 เซนติเมตร ตามลําดับ ซึ่งแตกตางจากพื้นที่ปายางพารา  และพื้นที่จัดระบบอนุรักษ  ที่มีปริมาณ OM โดย
                   เฉลี่ยสูงที่สุด อยูที่ระดับความลึก 20-30 และ 10-20 เซนติเมตร ตามลําดับ กลาวคือ พื้นที่ปายางพารา  มี

                   ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน เทากับ 2.83% 2.87% และ 3.22% ที่ระดับความลึก 0-10 10-20 และ 20-30
                   เซนติเมตร ตามลําดับ และพื้นที่จัดระบบอนุรักษ  มีปริมาณอินทรียวัตถุในดิน เทากับ 2.83% 3.20% และ
                   3.17% ที่ระดับความลึก 0-10 10-20 และ 20-30 เซนติเมตร ตามลําดับ
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53