Page 47 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 47

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       41


                   ตารางที่ 9 คาเฉลี่ยปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (OM) ในพื้นที่ทดลอง เก็บขอมูลครั้งที่ 1 (เดือนเมษายน)

                                                               ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (OM)
                     ระดับความลึกของดิน                                   (%)
                        (เซนติเมตร)      Toeslope  Footslope  Backslope  Shoulder  Summit  คาเฉลี่ย
                                           (TS)        (FS)        (BS)       (SH)       (SU)    (Mean)
                    (1) พื้นที่ปลูกพืชที่ไมมีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา
                    0 - 10               3.07          2.81        2.91        2.86      2.51     2.831a

                    10 – 20              2.92          2.74        2.23       2.33       2.18    2.481a
                    20 – 30              2.61          1.89        1.74       1.79       1.56    1.919b
                    คาเฉลี่ย Mean)     2.868a        2.481b      2.293b     2.326b     2.084b  2.410b
                    (2) พื้นที่ปาหรือพื้นที่ไมผลที่ไมมีการรบกวนหนาดิน (ใชสําหรับการอางอิงขอมูล calibration)
                    0 - 10                3.57         4.24        4.07        4.11      4.07    4.015a

                    10 – 20              2.42          2.84        2.86       3.12       3.46    2.940b
                    20 – 30              2.03          2.25        2.22       2.30       2.55    2.270b
                    คาเฉลี่ย(Mean)     2.673a        3.111a      3.050a     3.180a     3.361a   3.075a
                    (3) พื้นที่ปลูกพืชของเกษตรกรที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ําที่ออกแบบโดยกรมพัฒนาที่ดิน
                    0 - 10                4.00         3.68        3.75        3.87      4.32    3.922a
                    10 – 20              3.07          2.58        3.12       3.81       2.84    3.084b

                    20 – 30              1.98          2.36        2.26       3.19       2.02    2.362b
                    คาเฉลี่ย(Mean)     3.018a       2.872ab      3.043a     3.620a     3.060a   3.123a


                          คาเฉลี่ยของปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (OM) สามารถรายงานไดดังนี้ ในการเก็บขอมูลครั้งที่ 2 (เดือน
                   มิถุนายน) ปจจัยดานระดับความลึกของดินและความแตกตางกันของพื้นที่ศึกษา มีความแตกตางกันของปริมาณ
                   อินทรียวัตถุในดิน (OM) อยางมีนัยยะสําคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 0.01 ในขณะที่ปจจัยดานความลาดชัน
                   มีความแตกตางกันของปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (OM) อยางมีนัยยะสําคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05

                          เมื่อกลาวถึงปจจัยดานพื้นที่การจัดการดินทั้งสามประเภท พบวา พื้นที่ปายางพารา  มีปริมาณ
                   อินทรียวัตถุในดินโดยเฉลี่ยสูงที่สุด (3.11%) พื้นที่ถัดมาคือ พื้นที่จัดระบบอนุรักษ  มีคาเฉลี่ย OM เทากับ 3.08
                   % และพื้นที่ปลูกพืชทั่วไป  ที่มีคาเฉลี่ย OM เทากับ 2.31 % ตามลําดับ
                          ในขณะที่คาเฉลี่ย OM เมื่อเปรียบเทียบกับระดับความลึก พบวา พื้นที่ศึกษาทั้งสามแหลงมีปริมาณ OM
                   โดยเฉลี่ยสูงที่สุดอยูที่ระดับหนาดิน คือ 0-10 เซนติเมตร  เหมือนกันทั้งหมด โดยที่ปริมาณ OM จะลดลง เมื่อ

                   ความลึกของดินเพิ่มมากขึ้น กลาวคือ พื้นที่จัดระบบอนุรักษ  มีปริมาณอินทรียวัตถุในดิน เทากับ 3.90% 2.90%
                   และ 2.45% ที่ระดับความลึก 0-10 10-20 และ 20-30 เซนติเมตร ตามลําดับ พื้นที่ปายางพารา  มีปริมาณ
                   อินทรียวัตถุในดิน เทากับ 3.92% 3.16% และ 2.23% ที่ระดับความลึก 0-10 10-20 และ 20-30 เซนติเมตร
                   ตามลําดับ และพื้นที่ปลูกพืชทั่วไป  มีปริมาณอินทรียวัตถุในดิน เทากับ 2.67% 2.46% และ 1.84% ที่ระดับ
                   ความลึก 0-10 10-20 และ 20-30 เซนติเมตร ตามลําดับ
                          คาเฉลี่ย OM เมื่อเปรียบเทียบกับประเภทความลาดชันทั้ง 5 ประเภท สามารถอธิบายได ดังนี้ พื้นที่ปลูก

                   พืชทั่วไป  มีคาเฉลี่ย OM สูงที่สุด ณ บริเวณ Toeslope (2.75%) พื้นที่ปายางพารา  มีคาเฉลี่ย OM สูงที่สุด ณ
                   บริเวณ Shoulder (3.52%) และพื้นที่จัดระบบอนุรักษ  มีคาเฉลี่ย OM สูงที่สุด ณ บริเวณ Shoulder (3.82%)
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52